Page 63 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 63
2
Roof Thermal Transfer Value (RTTV) 12.09 W/m2 passed, a lighting power density was 15.22 W/m failed, Energy
efficiency ratio (EER) was 11.07 failed, After the experiments, there are two guidelines for save energy. 1) Non-
investment by changing the behavior of turning off the air conditioner 3 time total 60 minute a day reduce
energy 52,414.kWh/Year. 2) investment has one guide lines for renovation is replacing existing light bulbs with
18W LED bulbs reduce energy 57,132.72 kWh/Year, to reduce the total energy cost this research proposes to
use alternative energy Solar Cell investment budget 9,414,000-baht Payback Period7.655 years.
Keyword: Green building Feasibility for green building green building renovation
1. บทนำ
ิ
แนวทางการออกแบบอาคารใหมีความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เปนแนวทางที่เกด
ขึ้นมาจากกระแสอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นทั่วโลก จึงเกิดแนวทางการออกแบบอาคารเขียว (Green Building)
่
ี
ที่ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมทมีการสนับสนุนสงเสริมและกำกับควบคุมของภาครัฐอยางตอเนื่อง อาคาร
สำนักงานองคการบริหารสวนจังหวัดหลายจังหวัดเปนอาคารสำนักงาน เปนอาคารเกาทมีคาใชจายสูงเกี่ยวกับพลังงานไฟฟา
่
ี
งานวิจัยนี้ไดเลือกอาคารสำนักงานองคการบริหารสวนจังหวัดราชบุร โดยใชเกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและ
ี
ั
ุ
่
ี
สิงแวดลอมไทย (TREES-EB) ประกอบดวย หมวด BM, SL, WC, EA, MR, IE, EP, GI ตามแผนอนรกษพลังงาน 20 ป มมาตรการ
ั
ั
ุ
ั
ั
ั
ิ
ี
ํ
ี
่
้
ั
ั
ิ
ั
ื
ั
ทงภาคบงคบดวยกฎระเบยบกบภาคการสนบสนนและสงเสรม โดยภาคบังคบทสาคญ คอ การบงคบใชพระราชบญญัตการสงเสริม
ั
ั
ุ
ิ
ํ
การอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 และฉบับปรบปรง พ.ศ. 2550 และการกาหนดมาตรฐานขั้นต่ำ และฉลากประสิทธภาพพลังงาน
สวนภาคการสนับสนุนและสงเสริมที่สําคญ คือ การใหเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยผลประหยัดพลังงานที่ตรวจพิสูจน หรือประเมินได
ั
(Standard Offer Program หรือ SOP) และการเพิ่มบทบาทขององคการบริหารสวน ทองถิ่น รวมทั้งการใหหนวยงานภาครฐ
ั
ั
ุ
ื
็
ั
่
ี
่
ี
แสดงบทบาทเปนแบบอยางทด ในการอนรกษพลังงานการขบเคลือนแผน และเง่อนไขสูความสําเรจหนวยงานภาครัฐแสดงบทบาท
การนําและเปนแบบอยางที่ดี เชน การดําเนินมาตรการประหยัดพลังงานในอาคารของรัฐ เปนตนทักษยศ กิจรุงเรือง. (2561).
ไดศึกษาแนวทางการปรับปรุงอาคารกองบัญชาการกรมยุทธโยธาทหารบกเพื่อประสิทธิภาพพลังงานและความคุมทุนตามเกณฑ
การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย (TREES) ซึ่งศึกษาเฉพาะหัวขอ EA เทานั้น สุรพล เดชพล. (2552).
ไดศึกษาแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานไฟฟาของอาคารสำนักงานราชการ กรณีศึกษาอาคารสำนักงาน
ิ
ี
อธิการบดหลังใหม มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ซึ่งทั้งสองผลงานยังไมใชการศกษาอาคารราชการองคการปกครองสวนทองถ่น แต
ึ
ี
ิ
พบใน ดลยา ศรปรุ. (2548). ซงศกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุงอาคารสำนักงานของรัฐเพอการประหยัดพลังงาน: กรณีศกษา
่
ื
่
ึ
ึ
ึ
ิ
อาคารสำนักงานเทศบาลนครของ จ.นครราชสีมา จงเปนผลงานขนาดเล็กกวาอาคารขององคการบริหารสวนจงหวดราชบรและยง ั
ั
ั
ุ
ี
ึ
ั
ั
่
ื
ไมมีการใชเกณฑประเมินความยงยนทางพลงงานและสิงแวดลอมไทย (TREES)
่
2. วตถประสงค
ั
ุ
2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการปรบปรุงอาคารสำนักงานองคการบรหารสวนจงหวัดราชบุร เปนอาคารสำนกงานเขียวตาม
ี
ั
ั
ิ
ั
มาตรฐานหลักเกณฑ และวิธการในการออกแบบอาคารเพือการอนรกษพลังงาน (BEC) และเกณฑประเมินความยงยนทางพลงงาน
ั
ั
่
ุ
ื
่
ั
ี
่
และสิงแวดลอมไทย (TREES)
่
้
ื
ึ
ุ
ี
2.2 เพอศกษาเปรียบเทยบแนวทางการปรับปรงอาคารสำนักงานฯ ทง 2 เกณฑ
ั
ั
ุ
ั
้
2.3 เพอประเมินสภาพอาคารสำนักงานฯ ปจจบน ตามเกณฑการศกษาทง 2 เกณฑ
ึ
ื
่
55