Page 64 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 64
ุ
ุ
ั
2.4 เพื่อเสนอแนวทางการปรบปรงอาคารสำนักงานฯ ที่สามารถลดการใชพลังงานโดยรวมของอาคารและความคุมทน
ื
ั
ิ
่
่
ตามเกณฑการประเมนความยงยนทางพลงงานและสิงแวดลอมไทยสำหรับอาคารระหวางใชงาน
ั
่
ี
3. แนวคิดและทฤษฎทเกยวของ
ี
ี
่
ั
3.1 หลกเกณฑการศึกษาโดยบงคบ
ั
ั
ิ
ี
เพื่อเปนแนวทางการปรบปรงอาคารสำนักงานองคการบรหารสวนจงหวดราชบร คือ กฎกระทรวงกำหนดประเภท
ั
ุ
ุ
ั
ั
หรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2563
่
่
ประกอบดวย 2 หมวด และขอกำหนดสำคญทเกยวของดงน ี ้
ั
ี
ั
ี
่
่
ี
ั
ุ
ั
ี
่
3.1.1 หมวดท 1 ประเภทและขนาดของอาคารเพือการอนรกษพลงงาน ประกอบดวย 1) อาคารทกอสรางใหม ท ี ่
ื
ี
้
ี
ึ
ั
มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในอาคารหลงเด่ยวกันตังแต 2,000 ตร.ม โดยอาคารท่ใชศกษานี้ เปนอาคารประเภทสำนักงานหรอที่ทำการ
ี
ั
2) อาคารทดดแปลงมีทกชนในอาคารหลังเดียวกนตงแต 2,000 ตร.ม
ั
ุ
่
้
ั
ั
้
่
3.1.2 หมวดที่ 2 มาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรกษพลังงาน ประกอบดวย
ั
ั
1) ระบบเปลือกอาคาร หรือผนังดานนอกและหลังคา (OTTV, RTTV หนวยวัตต/ตร.ม.) ของอาคารที่มีการปรบอากาศของแตละ
ประเภทอาคารที่ตองมีคาการรถายเทความรอนรวม 2) การใชไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร หรือคากำลังไฟฟาสองสวาง (LPD
หนวยวตต/ตร.ม.) 3) ระบบปรับอากาศ ในแตละประเภทและขนาดทีตดตงเพอใชสำหรับอาคาร ตองมคำสัมประสิทธิสมรรถนะขัน
ื
่
ั
่
์
้
่
ี
้
ั
ิ
ั
-1
ั
-1
่
็
ตำ [COP (EER (Btu.h .W )] คาประสิทธิภาพพลงงานตามฤดูกาล หรือคากำลังไฟฟาตอตนความเยน [COP (kW./RFT)]
3.1.3 โปรแกรม BEC หรือ Building Energy Code เปนเครื่องมือคำนวณคาการอนุุรัักษพลัังงานตามเกณฑ
มาตรฐานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุุรัักษพลัังงาน ประกอบดวย ระบบเปลือกอาคารผนัังอาคารและหลัังคาอาคาร ระบบ
ั
ี
ุ
ไฟฟาแสงสวาง ระบบปรัับอากาศ อุุปกรณผลิิตนำรอน การใชพลังงานหมุนเวียน และการใชพลังงานโดยรวมของอาคาร โดยการ
้
ั
ั
ุ
ั
ุ
ิ
่
ู
ี
ื
่
ิ
ปอนขอมลแบบอาคารทจะประเมนลงในโปรแกรมเพอคำนวณคาอนรกษพลังงานตามกฎหมาย
ั
่
ื
ั
ิ
3.2 เกณฑการประเมนความยงยนทางพลงงานและสิงแวดลอมไทย (TREES-EB)
ั
่
จัดทำโดยสถาบันอาคารเขียวไทย Thai Green Building Institute (TGBI) แบงเปนหมวดตาง ๆ เพื่อนำไปสูการ
พัฒนา “อาคารเขียว” อยางยังยืน โดยงานวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับ หมวดที่ 4 พลังงานและบรรยากาศ (Energy
and Atmosphere) ดงน ี ้
ั
3.2.1 EA P1 การสำรวจอาคารและวางแผนพัฒนาการอนุรักษพลังงาน คือ แผนในการบริหารจัดการอาคาร
(Building Operation Plan: BOP) ประกอบดวย ระบบผลิตความรอนและทำความเย็น ระบบปรับอากาศและระบายอาไกาศ
ระบบแสงสวาง และระบบผลิตพลังงานทดแทน (ถาม) ี
3.2.2 EA P2 การอนุรักษพลังงานขั้นต่ำ คือ การประเมินการใชพลังงานดวย Energy Star Portfolio Manager
เบื้องตน ทำการปรับปรุงอาคารหรือใชนโยบายประหยัดพลังงาน เพื่อลดการใชพลังงาน มาตรฐานขั้นต่ำในการใชพลังงานของ
่
่
ิ
อาคารเขียว ชวงดำเนนการ 1 ป ตอเนอง จะตองดกวาคาเฉลียรอยละ 19
ี
ื
3.2.3 EA 1 ประสิทธิภาพการใชพลังงาน คือ การประเมินการใชพลังงานดวย Energy Star Portfolio Manager
ึ
้
การประหยัดพลังงานในอาคารใหสงกวาอาคารมาตรฐาน ชวงดำเนนการ 1 ป ตอเนอง จะตองสูงกวาคาเฉลียรอยละ 21 ขนไป
่
ู
่
ื
ิ
3.2.4 EA 2 การใชพลังงานทดแทน คือ การติดตั้งระบบผลิตพลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงาน
ั
ลม พลงงานชวมวล เปนตน กบอาคารหรือในบรเวณโครงการ ใหไดเปนมลคารอยละ 0.5-3.5 ของคาใชจายพลงงานในอาคารตอป
ู
ิ
ี
ั
ั
3.2.5 EA 3 ผลการศึกษาและการประยุกตมาตรการอนุรักษพลังงาน คือ การประเมินการใชพลังงานในอาคาร
ตามมาตรฐาน ASHRAE Level 1 Walk-Through (การประหยัดคาใชจายตามมาตราฐานการอนุรักษพลังงาน) เริ่มตนที่ <160,
161-200, >201 (kWh/sq.m.) หรือ รอยละ 10%, 25%,40% ตามลำดบ
ั
56