Page 94 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 94
ู
ิ
2. การสรางเครืองมอวจย โดยวธการรวบรวมขอมลจากเอกสารและการลงพืนทสำรวจเพือเกบขอมลเชงกายภาพ
ั
ื
ิ
ี
่
็
ิ
ู
่
่
้
ี
ิ
3. วธการเกบรวบรวมขอมล และจดกลมขอมล โดยวิธดงตอไปนี ้
็
ี
ี
ู
ั
ั
ู
ุ
่
ั
ี
ึ
ี
่
ั
ี
่
ี
่
3.1 ศกษาทบทวนวรรณกรรมจากเอกสารทเกยวของกบทฤษฎีทเกยวของกบการออกแบบสถาปตยกรรมประเภท
ั
ั
ิ
ั
ิ
ั
ู
ิ
่
ี
ตาง ๆ คอ พระราชวง โรงแรม โรงพยาบาล และพพธภณฑ ประกอบกบขอมลทางประวตศาสตรทเกยวของ
ื
ี
่
ื
ุ
ี
3.2 ทำการสัมภาษณจากบคคลทมความนาเชอถอเพอเกบขอมลทเก่ยวของกบพระทีนังพมานจกร ี
่
่
ี
ื
ั
ี
่
ั
ิ
่
็
่
ื
่
ี
ู
ั
่
ี
ิ
้
็
ื
่
ั
่
ี
ู
ี
3.3 ลงพนทเกบขอมลทางกายภาพของสถาปตยกรรม พระทนงพมานจกร พระราชวังพญาไท
ิ
ั
ุ
3.4 ทำการวเคราะหขอมลและสรปผลการวจย
ิ
ู
ิ
5. ผลการวจย
ั
จากการศึกษาวิจัยพบวารูปแบบผังที่มีการปรับเปลี่ยนการใชสอยของพระที่นั่งพิมานจักรี พระราชวังพญาไท
ั
ประกอบดวย “การปรับเปลี่ยนหนาที่การใชสอยและผูครอบครอง” เพื่อใหทราบถึงเหตุปจจัยของการเปลี่ยนหนาที่กบ
่
“การปรับเปลี่ยนหนาที่การใชสอยในอาคาร” ซงเปนการวิเคราะหดวยทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการออกแบบสถาปตยกรรมประเภท
ึ
ั
ื
ตาง ๆ เพอใหทราบการเปลียนไปของอาคารในระดับผงและการแบงกลมการใชสอย (Zoning)
่
่
ุ
ั
ู
่
ี
ี
่
5.1 การปรบเปลยนหนาทการใชสอยและผครอบครอง
พระที่นั่งพิมานจักรีสรางขึ้นในป พ.ศ. 2463 (หอวชิราวุธานุสรณ, 2463-2464) พรอมกับหมูพระที่นั่งของ
พระราชวังพญาไท จากหลักฐานในบันทึกของหมอมหลวงปนมาลากุลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีสวนรวมใน
ี
การออกแบบพระทนงในป พ.ศ. 2462 (ประติสมต, 2523) โดยโปรดเกลาฯใหนายเอมลโย ฟอรโน (Emilio Forno) สถาปนกชาวอ ิ
ิ
ิ
่
่
ั
ิ
ตาเลียนซึ่งเปนขาราชการกรมศิลปากรในขณะนั้น เปนผูดูแลการกอสรางและตกแตงภายในหมูพระที่นั่ง และนายคารโล ริโกลี
ี
ั
้
ิ
ี
(Carlo Rigoli) จตรกรชาวอตาเลียนเปนผูเขยนภาพจตรกรรมลายเขยนสตกแตงภายในพระราชวงพญาไท จากนนหลังสงครามโลก
ั
ิ
ี
ิ
ครั้งที่ 1 รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชดําริใหจัดงานมหกรรรมนานาชาติชื่อวา“สยามรัฐพิพิธภัณฑ” (The Siamese Kingdom
Exhibition) ในป พ.ศ. 2468 (กัณฐิกา กลอมสุวรรณ, 2556) แตกรุงเทพฯ เวลานั้นยังไมมีโรงแรมทันสมัยรัชกาลที่ 6 จึงมีพระ
ั
ั
้
ี
ั
ั
ั
ราชราชปรารภกบผูบญชาการกรมรถไฟหลวงขณะนนวาพระราชวงพญาไทเปนอสังหาริมทรพยทใหญโตมบริเวณทกวางขวางมาก
ี
ี
่
่
ื
่
่
่
ี
้
ตองสินเปลืองในการบำรุงรกษา หากปรบเปนโรงแรมชนหนงเพออำนวยความสะดวกใหนกทองเทยวตางประเทศทีเขามาในสยาม
ั
ั
ั
ั
้
่
ึ
แลวคาบำรุงรักษาก็คงรวมอยูในงบของโรงแรมได (ชมรมคนรักวัง, 2548) จงใหกรมรถไฟหลวงที่ประสบความสำเร็จในกิจการ
ึ
ุ
ิ
่
ั
ั
้
ั
่
โฮเต็ลรถไฟหัวหนมากอน แปลงพระราชวังพญาไทเปนโฮเต็ลทนสมยชันเดอลกซ เพอเปดวนที 1 มกราคม 2468 ทนงานสยามรัฐ
ื
ั
พิพิธภัณฑ โดยมีพระราชประสงคใหคงรูปพระราชวังและนามเดิมเปนที่ระลึก แตงานสยามรัฐพิพิธภัณฑไมไดจัดขึ้นเนื่องจาก
รัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคตกอน การจัดงานรื่นเริงขณะนั้นจึงตองงดไป ตอมารัชกาลที่ 7 พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหสืบ
สานพระราชดำริในรชกาลท 6 เปนโฮเต็ลพญาไท จนหลังการเปลยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โฮเต็ลพญาไทขาดทุนประกอบ
ี
ั
่
ี
่
ุ
่
ิ
กระทรวงกลาโหมตองการใชสถานทีเปนกองเสนารักษ (หอจดหมายเหตแหงชาต, 2475-2477) จนเปนโรงพยาบาลทหารบกตาม
ี
ั
ดวยโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาในปจจบน ซงโรงพยาบาลไดยายไปอาคารหลังใหมในบรเวณใกลเคยงกบพระราชวังพญาไทและใช
ุ
ิ
่
ึ
ั
้
พระราชวังเปนที่ทำการของกรมแพทยทหารบกจนป พ.ศ. 2532 จึงยายไป (ชมรมคนรักวัง, 2548) จากนั้นกรมศิลปากรขึน
ทะเบียนพระราชวังพญาไทเปนโบราณสถานในป พ.ศ. 2522 มีการจัดตั้งชมรมคนรักวัง (ปจจุบันคือมูลนิธิอนุรักษพระราชวง
ั
พญาไท) ในป พ.ศ. 2540 เพอรณรงคหารายไดสมทบทนบรณะพระราชวังพญาไทและดำเนนการเปนพพธภณฑใหประชาชนทวไป
ุ
ั
ู
ื
่
ิ
ั
ิ
่
ิ
ี
่
่
ั
ุ
ั
ุ
เขาชมจนถงปจจบน โดยทีพระทนังอดมวนาภรณยงใชเปนศนยอำนวยการแพทยพระมงกุฎเกลา
ู
ึ
่
86