Page 6 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 6
การศึกษาความต้องการไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ และต�าแหน่งติดตั้งที่เหมาะสมและพอเพียง
ต่อการใช้งาน ส�าหรับบ้านพักอาศัย ในชุมชนเกาะโหลน จังหวัดภูเก็ต
The Demand for Electricity from Solar Cells and the Appropriate
Installation for Housing in LonIsland, Phuket Province
จรุงจิต ชูปาน สุพัฒน์ บุณยฤทธิกิจ ชนินทร์ ทิพโยภาส 3
1
2
บทคัดย่อ
ื
ั
ี
การวิจัยคร้งน้ มีวัตถุประสงค์เพ่อตรวจสอบปริมาณการขาดแคลนไฟฟ้าของบ้านพักอาศัยในชุมชนเกาะโหลน จังหวัด
�
ึ
ื
�
ภูเก็ต และการปรับปรุงการใช้โซล่าเซลล์เพ่อแก้ปัญหาการขาดแคลนไฟฟ้า ซ่งได้ทาการศึกษาวิจัย และสารวจพ้นท่จริงในชุมชน
ื
ี
เกาะโหลน ชุมชนเกาะโหลนเป็นชุมชนท่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและหน่วยงานท่เก่ยวข้องในการสนับสนุนด้านพลังงาน
ี
ี
ี
ทดแทน โดยในปี 2549 กระทรวงพลังงานได้ติดตั้งโซล่าเซลล์ จ�านวน 1 แผง ต่อบ้านพักอาศัย 1 หลังเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
ิ
�
ภายในชุมชน ในปี 2555 คณะเทคโนโลยีและส่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต คณะทางานนวัตกรรม
สถาบันวิจัย และเทคโนโลยี ปตท. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้เข้าไปจัดตั้ง โครงการส่งเสริมพลังงาน
้
ิ
็
ื
ั
ี
่
่
ุ
ั
ื
ุ
ั
ู
�
ทดแทนในรปแบบไฟฟ้าพลงนาขนาดเลกให้กบชมชนเกาะโหลน เพอเป็นโครงการทช่วยเหลอสนบสนนและส่งเสรมการใช้
พลังงานทดแทนบนเกาะโหลน แต่การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน�้าบนเกาะโหลนก็ยังไม่ประสบความส�าเร็จเนื่องจากยัง
ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ได้ด้วยปัญหาเรื่องความสูงของฝายกั้นน�้า จึงท�าให้ในปัจจุบันบ้านเรือนบนเกาะโหลนสามารถ
ผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ได้จากพลังงานแสงอาทิตย์เพียงเท่าน้น บ้านพักอาศัยบางหลังต้องใช้เคร่องปั่นไฟนามันดีเซลล์ในการผลิต
ั
ื
้
�
กระแสไฟฟ้า ซ่งเป็นภาระค่าใช้จ่ายท่สูง เพราะแผงโซล่าเซลล์จานวน 1 แผง ยังไม่สามารถท่จะผลิตกระแสไฟฟ้ามาเพ่อ
ี
ึ
ี
ื
�
�
รองรับการใช้งานของคนในครอบครัวได้อย่างเพียงพอ จึงต้องมีการศึกษาความต้องการไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ และตาแหน่ง
ติดตั้งที่เหมาะสมและพอเพียงต่อการใช้งาน ส�าหรับบ้านพักอาศัย ในชุมชนเกาะโหลน จังหวัดภูเก็ต
ค�าส�าคัญ: การขาดแคลนไฟฟ้า ความพอเพียง โซลล่าเซลล์ บ้านพักอาศัย ต�าแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม
Abstract
The purpose of this research was to determination of power shortage of housing in the Lon Island‘s
community and the improvement of using solar cell to solve the shortage of electricity, which can research
and explore the area in Lon Island community. Lon Island community received support from the government
and relevant departments in support of renewable energy in 2007 installed solar cell 1 panel on housing to
electricity within the community, in 2012 technology and environment. Prince of Songkla University. Committee
on Innovation and Technology Research Institute of Petroleum. Department of renewable energyand energy
conservation in establishment. Promotion of renewable energy in the form of small hydropower for community
projects that Lone Island to support and promote the use of renewable. energy on a Lon Island. But production
of electricity from hydro power on a Lon Island did not succeed because it does not use electricity available
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
2 ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
3 ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.