Page 7 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 7

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







               with the problem of the height of the weir water barrier. The current houses on the island a dozen three car
               generating electricity from solar energy is only. After some use diesel generator housing file in electricity. The
               burden of high cost because of 1 solar cell panel. Still not able to produce electricity for the use of the family
               is enough. Have the study the demand for electricity from solar cells and the installation of appropriate and
               sufficiency to use for housing in Lon Island, Phuket province.


               Keywords: Shortages of Electricity, Sufficiency, Solar Cell, House, The Appropriate Installation



               1. บทน�า

                                                                                             ึ
                      การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในระดับชุมชนในรูปแบบชุมชนสีเขียวแบบครบวงจร เป็นหน่งในวัตถุประสงค์หลัก
               ของการก�าหนดกรอบและทิศทางการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศ จากการจัดท�าแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและ
               พลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (พ.ศ. 2555-2564) หรือ Alternative Energy Development Plan: AEDP (2012-2021)
                                  ื
               ของกระทรวงพลังงาน เพ่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในระดับชุมชนในรูปแบบชุมชนสีเขียวแบบครบวงจรโดยมียุทธศาสตร์
               การส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง ส่งเสริมโครงการระบบขนาดเล็กท่สามารถ
                                                                                                      ี
               ติดต้งในระดับชุมชนและครัวเรือนรวมท้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar PV Rooftop) ให้ได้ 1,000 MW
                  ั
                                            ั
               ภายใน 10 ปี โดยอาจพิจารณาให้รวมถึงระบบที่ติดตั้งในบ้านของประชาชนทั่วไปและชุมชน
                                         ึ
                      ชุมชนเกาะโหลนเป็นหน่งในชุมชนท่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลและกระทรวงพลังงานในการพัฒนา
                                                 ี
               ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนภายในชุมชน เกาะโหลนอยู่ในเขตการปกครองของเทศบาลต�าบลราไวย์ อ�าเภอถลาง จังหวัด
               ภูเก็ต ซึ่งอยู่ทางฝั่งภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย และจากภูมิศาสตร์ที่ตั้งของเกาะโหลน เป็นพื้นที่ที่ยากหรือไม่เหมาะสม
                                                  ี
               ต่อการลงทุนในการเดินสายไฟแรงสูงเข้าสู่พ้นท่ เน่องจากอยู่ห่างจากเกาะภูเก็ตประมาณ 5 กิโลเมตร ท�าให้ประชาชนบนเกาะ
                                                     ื
                                                ื
               ต้องผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เอง ในปี 2549 ชุมชนเกาะโหลนได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลและกระทรวงพลังงานในการ
                  ั
               ติดต้งเซลล์แสงอาทิตย์เพ่อผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เป็นคร้งแรก  และในปี  2555  คณะเทคโนโลยีและส่งแวดล้อมมหาวิทยาลัย
                                                                                           ิ
                                  ื
                                                        ั
               สงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต คณะท�างานนวัตกรรมสถาบันวิจัยเทคโนโลยี ปตท. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์
               พลังงานได้เข้าไปจัดตั้ง  โครงการส่งเสริมพลังงานทดแทนในรูปแบบไฟฟ้าพลังน�้าขนาดเล็กให้กับชุมชนเกาะโหลน  เพื่อเป็น
               โครงการที่ช่วยเหลือสนับสนุนและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนบนเกาะโหลน  แต่การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน�้าบน
                                             ื
               เกาะโหลน ก็ยังไม่ประสบความส�าเร็จเน่องจากยังไม่สามารถใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ได้ด้วยปัญหาเร่องความสูงของฝายก้นน�้า
                                                                                                         ั
                                                                                         ื
               ท�าให้ในปัจจุบันนี้ชุมชนเกาะโหลนสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ได้จากพลังงานแสงอาทิตย์เพียงเท่านั้น
                                          �
                      จากปัญหาของไฟฟ้าพลังน้า และโซล่าเซลล์ จากการส�ารวจสภาพท่วไปบนเกาะโหลนปัจจุบัน บ้านเรือนมีการติดต้ง ั
                                                                         ั
                                                                                              ื
               เซลล์แสงอาทิตย์ เพ่อผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ เน่องจากพลังงานแสงอาทิตย์สามารถผลิตกระแสไฟมาใช้กับเคร่องใช้ไฟฟ้าได้เพียง
                              ื
                                                ื
                                                    ื
                                                                                        ั
                                                                                      �
                                                                                                   ั
                                                                                           ี
                                                                            ่
                                                          ุ
                                                                                      ้
                                                                            ื
                             ึ
                               �
                                       ั
               บางส่วนเท่านน  จงทาให้บ้านพกอาศยบางครวเรอนในชมเกาะโหลน  ต้องใช้เครองปั่นไฟฟ้านามนดเซลล์ร่วมกบโซล่าเซลล์
                         ้
                         ั
                                           ั
                                                  ั
                ึ
                                                                                               ี
               ซ่งท�าให้เกิดเป็นภาระค่าใช้จ่ายท่สูง  รวมถึงยังขาดงบประมาณในการช่วยเหลือเร่องการเปล่ยนแบตเตอร์ร่เซลล์แสงอาทิตย์
                                                                                     ี
                                                                             ื
                                        ี
               ท่ต้องท�าการเปล่ยนใหม่ทุก 3-4 ปี เน่องจากขาดต้นทุนดังกล่าวท�าให้บ้านเรือนบางหลังปล่อยให้เซลล์แสงอาทิตย์เส่อมสภาพ
                           ี
                                                                                                     ื
                                           ื
                ี
               ขาดการใช้งาน จึงท�าให้สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าบนเกาะโหลนนับว่ายังขาดแคลนอยู่มาก จึงเป็นที่มาของการศึกษาความ
                                                 ั
                                                   ี
               ต้องการไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ และต�าแหน่งติดต้งท่เหมาะสมและพอเพียงต่อการใช้งาน ส�าหรับบ้านพักอาศัย ในชุมชนเกาะโหลน
               จังหวัดภูเก็ต
               Vol.  8                                       2
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12