Page 12 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 12
5. ขั้นตอนการศึกษา
ศึกษาข้อมูลภาคสนาม สังเกตรูปแบบการท�างานของช่าง โดยเก็บข้อมูลการขึ้นรูปต้นแบบ การท�าแบบหล่อ และ
�
�
ั
ื
การหล่อแบบคอนกรีต ท้งแบบหล่อซีเมนต์และแบบหล่อซิลิโคน เพ่อทดลองทาการทดสอบต้นแบบ เป็นแนวทางสาหรับ
การออกแบบขั้นตอนการวิจัย
6. ขั้นตอนการท�าวิจัย
การทดสอบวิเคราะห์รูปแบบลวดลายประจ�ายาม ที่สามารถใช้หล่อพิมพ์ได้ทั้ง 2 ชนิด
1. ก�าหนดใช้แบบประจ�ายาม โดย แบ่ง 1/4 ส่วน เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ มุมมองภาพด้านบน และมุมมองภาพ
ตัดขวาง โดยภาพ มุมมองด้านบน ใช้เพื่อศึกษาวิเคราะห์ พื้นผิวหน้า และมุมมองภาพตัดขวาง ใช้เพื่อวิเคราะห์ความลึก
ของลวดลาย
2. ออกแบบต้นแบบจากต้นแบบดั้งเดิม (รูปแบบที่1) เพื่อใช้สร้างแบบหล่อโดยก�าหนดเป็น 7 กลุ่มการทดลอง
3. น�าต้นแบบที่ปรับแต่งลวดลาย (รูปแบบที่ 2) สร้างแบบหล่อซิลิโคน
4. น�าแบบหล่อซิลิโคนมาหล่อสร้างชิ้นงาน เพื่อน�าไปสร้างแบบหล่อซีเมนต์
รูปที่ 3 แสดงขั้นตอนการเตรียมชิ้นงานต้นแบบ
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
ต้นแบบชิ้นงานปรับรูปแบบ (รูปแบบที่ 2) จากต้นแบบเดิม ปรับลักษณะลวดลายในแนวตั้งโดยน�าต้นแบบแรกมา
ปรับแต่ง ด้วยวิธี ขูด ขัด และเติม โดยคงรูปแบบลวดลาย มุมมองภาพด้านบน ไว้ โดยการปรับชิ้นงาน แบบ A-D คือ
การปรับความเอียง ขูดร่องให้มน ขัดหน้าให้แบน และใส่น�้าปูนเพื่อลดความลึกร่อง ตามล�าดับ ชิ้นงานแบบ E เป็นการปรับ
ด้วยเทคนิค A-C รวมกัน ชิ้นงานแบบ F เป็นการปั้นใหม่โดยช่างผู้ออกแบบต้นแบบแรกโดยใช้แนวคิดการปั้นนูนต�่า และ
แบบ G คือ แบบดั้งเดิม (รูปแบบที่1)
ั
ั
�
ื
่
เมอออกแบบครบ ท้ง 7 แบบ ทาการถ่ายภาพ มุมมองภาพตัดขวาง และนามาปรบระดบความแตกต่างภาพ
ั
�
(Contrast) + 200% เพื่อให้ได้ลายเส้นที่ชัดเจนส�าหรับการเขียนแบบเพื่อใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
5 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.