Page 253 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 253
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
�
ี
ในชุดภาพแหล่งพุนาร้อนเมืองแปงมีกิจกรรมท่นักท่องเท่ยวหรือคนภายนอกเข้าร่วมได้คือการล่องแก่ง
้
ี
และปรุงอาหารบริเวณแหล่งพุน�้าร้อน กิจกรรมอื่นๆ เช่น การทอผ้า การท�าการเกษตร งานเทศกาลของชุมชน นักท่องเที่ยว
หรือคนภายนอกสามารถเข้าร่วมได้ในระดับที่จ�ากัดหรือในฐานะผู้เฝ้าสังเกตการณ์
ื
ี
5.2 สรุปแนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาพลักษณ์สถานท่สาหรับการถ่ายภาพสารคดีเพ่อส่งเสริมการท่องเท่ยว
�
ี
ี
แนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาพลักษณ์สถานท่สาหรับการถ่ายภาพสารคดีเพ่อส่งเสริมการท่องเท่ยวแบ่งออก
ี
ื
�
เป็นห้าขั้นตอนโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ี
ี
ื
5.2.1 ประเมินพ้นท่เป้าหมายด้วยหลักการจัดระดับศักยภาพท่สามารถรองรับและให้ประสบการณ์ท่องเท่ยว
ี
ื
ี
หรือ Recreation Opportunities Spectrum (ROS) เพ่อประเมินคุณลักษณะ ความแตกต่าง และโอกาสในการจัดการท่องเท่ยว
รูปแบบต่างๆ
5.2.2 วิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์ของพ้นท่เป้าหมายด้วยการวัดภาพลักษณ์สถานท่ (Measurement
ี
ี
ื
ี
ื
of Destination Image) ตามทฤษฎีภาพลักษณ์สถานท่โดยการลงพ้นท่สารวจ สัมภาษณ์ และสังเกตการณ์ เพ่อเรียนรู้คุณลักษณะ
�
ื
ี
และภาพลักษณ์ต่างๆ พร้อมทั้งก�าหนดรูปแบบการท่องเที่ยวและภาพลักษณ์สถานที่โดยรวม
5.2.3 กาหนดเน้อหาสาหรับการถ่ายภาพด้วยกระบวนการศึกษามานุษยวิทยาภาพโดยใช้รูปแบบการท่องเท่ยว
�
ี
ื
�
และภาพลักษณ์รวมท่กาหนดเป็นเป้าหมายหลักและคัดเลือกคุณลักษณะและภาพลักษณ์ย่อยท่ศึกษาจากการวัดภาพลักษณ์
�
ี
ี
สถานที่ๆ สอดคล้องกับรูปแบบการท่องเที่ยวและภาพลักษณ์รวมเพื่อเป็นเนื้อหาในการถ่ายภาพ
ี
5.2.4 ทาการถ่ายภาพตามเน้อหาท่กาหนด รวมถึงคัดเลือกภาพถ่ายท่สอดคล้องกับรูปแบบการท่องเท่ยวและ
�
ี
ี
ื
�
ภาพลักษณ์ที่ก�าหนด
ื
ี
ื
5.2.5 คัดเลือกและประเมินภาพถ่ายโดยให้คนในพ้นท่เป้าหมายมีส่วนร่วมเพ่อประเมินคุณภาพและความเหมาะสม
ของภาพถ่ายที่จะใช้เผยแพร่ถึงสาธารณะเพื่อดึงดูดให้เกิดการท่องเที่ยว
5.3 ข้อเสนอแนะ
ื
ี
ข้อเสนอแนะจากการลงพ้นท่เพ่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการท่องเท่ยวและภาพลักษณ์สถานท่ท่องเท่ยว
ี
ี
ี
ื
การกาหนดเน้อหาการถ่ายภาพ การถ่ายภาพ และการคัดเลือกและประเมินภาพถ่ายอย่างมีส่วนร่วมมีสาระสาคัญคือก่อน
�
�
ื
ึ
ี
่
ื
ิ
ี
ปฏิบัตการถ่ายภาพในพ้นทควรแจ้งให้ชุมชนทราบถงรายละเอียดคุณลักษณะและภาพลักษณ์ท่ต้องการสอสารผ่านภาพถ่าย
่
ื
เพื่อสร้างความเข้าใจและชุมชนได้เตรียมพร้อม
ี
ในระหว่างขั้นตอนการคัดเลือกและประเมินภาพถ่าย ตัวแทนคนในชุมชนอาจเกิดความคิดหรือให้ข้อมูลเก่ยวกับ
ึ
พ้นท่ใหม่ซ่งอาจทาให้มีความต้องการภาพถ่ายเพ่มเติมและอาจก่อให้เกิดปัญหาด้านเวลาในการทางาน โดยเฉพาะช่วงเวลา
�
ี
ื
ิ
�
ี
หรือฤดูกาลท่สามารถถ่ายภาพลักษณะหรือเน้อหาน้นได้ รวมถึงระหว่างการคัดเลือกและประเมินภาพถ่ายโดยชุมชนอาจเกิด
ั
ื
ปัญหาคนในชุมชนมีความเห็นไม่ตรงกัน เช่น ด้านความเหมาะสมของเนื้อหาในภาพ
ิ
่
้
ู
�
ั
ี
่
์
้
ี
�
ื
ั
�
แนวทางจากการดาเนนงานวจยนคอการนาแนวทางการศกษาและวเคราะหขอมลสาหรบการทองเทยวและการ
ิ
ิ
ึ
ื
ื
�
ี
ี
ี
ื
�
จัดการสถานท่เพ่อให้บริการผู้มาเยือนในการสร้างเน้อหาสาหรับส่อภาพถ่ายท่จะช้นาและสร้างภาพลักษณ์ของสถานท่อย่างม ี
ี
ส่วนร่วม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตสื่อเช่นช่างถ่ายภาพ นักวิจัยสามารถใช้แนวทางนี้ในการศึกษาและส�าเสนอสถานที่อื่นๆ
หรือประยุกต์ใช้แนวทางกับพื้นที่หรือสถานที่เพื่อประโยชน์นอกเหนือการท่องเที่ยว ส�าหรับคนในชุมชนพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว
แนวทางนี้เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการต่อรองและก�าหนดภาพลักษณ์ของชุมชนที่จะสื่อสารต่อสาธารณะ รวมถึงเป็น
ั
ี
ื
�
ี
ี
�
ื
การทบทวนและเปิดเผยข้อมูลเก่ยวกับชุมชนในส่วนท่คนท่วไปท่ใช้ชีวิตประจาวันในพ้นท่อาจมองข้ามด้วยภาพถ่ายเพ่อกาหนด
ี
ื
อัตลักษณ์ของชุมชนต่อไป และสาหรับผ้ประกอบการเกี่ยวกับการท่องเท่ยว แนวทางนีสามารถใช้ในการศึกษาเพอสร้างเน้อหา
ู
้
ี
ื
�
่
Vol. 9 246