Page 252 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 252
5. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ี
หัวข้อสรุปและอภิปรายผลการวิจัยสรุปองค์ความรู้ท่ได้จากการวิจัย แบ่งออกเป็นสามหัวข้อประกอบด้วย 1) วิเคราะห์
องค์ประกอบเน้อหาในภาพถ่าย 2) สรุปแนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาพลักษณ์สถานท่สาหรับการถ่ายภาพสารคดีเพ่อ
ื
�
ื
ี
ส่งเสริมการท่องเที่ยว และ 3) ข้อเสนอแนะ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
5.1 ข้อสังเกตองค์ประกอบด้านเนื้อหาในภาพถ่าย
วิเคราะห์องค์ประกอบด้านเน้อหาในภาพถ่ายในท่น้ คือ การศึกษาองค์ประกอบด้านเน้อหาท่ปรากฏบนภาพถ่าย
ื
ี
ื
ี
ี
้
่
่
้
่
เชนในดานจ�านวนหรือรายละเอียดปลีกยอยในภาพ โดยแบงเปนหัวขอใหญตามเนื้อหาการถายภาพเชิงทองเที่ยวและสารคดี
่
่
่
็
(Chen She Ying, 2555; Becker, 1995) ประกอบด้วย 1) คน 2) สถานที่ และ 3) กิจกรรม เพื่อศึกษาความแตกต่าง
ของเนื้อหาระหว่างชุดภาพตามที่ได้ก�าหนดเป้าหมายรูปแบบการท่องเที่ยวและภาพลักษณ์สถานที่ที่จะสื่อสาร มีรายละเอียด
ดังต่อไปนี้
5.1.1 คน องค์ประกอบภาพท่เป็นคนปรากฏในชุดภาพถ่ายจากแหล่งพุน�าร้อนดอยสะเก็ดเป็นจานวนมากท่สุด
ี
้
�
ี
เนื่องจากทรัพยากรการท่องเที่ยวทุกคุณลักษณะที่เป็นเนื้อหาที่ก�าหนดเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต อาชีพ และวัฒนธรรมของชุมชน
ี
ื
้
�
�
�
ี
้
ื
ในพ้นท่ พ้นท่แห่งท่มีองค์ประกอบในภาพน้อยลงแต่ยังคงมีจานวนมากรองจากแหล่งพุนาร้อนดอยสะเก็ดคือแหล่งพุนาร้อน
ี
ื
โป่งปูเฟือง ท่ถึงแม้จะมีเป้าหมายในการถ่ายภาพเพ่อนาเสนอรูปแบบการท่องเท่ยวเชิงวัฒนธรรมก่งนิเวศและภาพลักษณ์รวม
ึ
ี
�
ี
ี
ท่เก่ยวข้องกับชุมชน แต่พ้นท่เป้าหมายหลัก คือ บริเวณแหล่งพุนาร้อนและชุมชนบ้านโป่งปูเฟือง ยังไม่ได้รับการพัฒนาในระดับ
�
้
ี
ี
ื
ที่สามารถน�าเสนอเพื่อดึงดูดการท่องเที่ยวด้วยบริเวณสถานที่เองได้ จ�าเป็นต้องน�าเสนอคุณลักษณะอื่นที่อาจไม่เกี่ยวข้องกับ
คนหรือชุมชนเป้าหมายโดยตรงเพื่อดึงดูดการท่องเที่ยว
ื
พ้นท่กรณีศึกษาท่มีจานวนภาพคนน้อยท่สุด คือ แหล่งพุนาร้อนเมืองแปงท่แม้ว่าคนในพ้นท่มีวัฒนธรรม
ี
ื
ี
้
ี
ี
�
ี
�
ั
ื
ท่หลากหลายจากจานวนกลุ่มชาติพันธุ์และคนในชุมชนมีวิถีชีวิตเกษตรกรรมแต่ท้งสองคุณลักษณะยังไม่ได้รับการพัฒนาเพ่อ
�
ี
รองรับการท่องเที่ยวและไม่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการท่องเที่ยวโดยตรง รวมถึงพื้นที่มีลักษณะเด่นด้านธรรมชาติ
ี
ี
ี
5.1.2 สถานท่ องค์ประกอบภาพท่เป็นสถานท่ปรากฏในทุกชุดภาพถ่ายแต่มีความแตกต่าง คือ ในชุดภาพถ่าย
แหล่งพุน�้าร้อนดอยสะเก็ดทุกสถานที่มีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในชุมชน เช่น วัด ศาลประจ�าชุมชน และ
แหล่งพุน�้าร้อนในบริเวณชุมชน
ี
ี
ภาพสถานท่ในชุดภาพแหล่งพุน�าร้อนโป่งปูเฟืองหลายภาพไม่ได้อยู่ในชุมชนหรือมีความเก่ยวข้องกับ
้
ี
ี
ื
ชุมชนโดยตรงแต่เป็นสถานท่ท่องเท่ยวอ่นท่อาจดึงดูดหรือสาคัญกว่าบริเวณชุมชนหรือแหล่งพุนาร้อน มีหน้าที่ในการสร้าง
�
้
ี
�
ความน่าสนใจต่อพื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติม
ี
�
้
ภาพสถานท่ในชุดภาพแหล่งพุนาร้อนเมืองแปงส่วนใหญ่เป็นภาพทิวทัศน์ท่เป็นธรรมชาติหรือมีการดัดแปลง
ี
โดยมนุษย์ในวงกว้าง แสดงให้เห็นภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของพื้นที่
ี
5.1.3 กิจกรรม องค์ประกอบภาพท่เป็นกิจกรรมในแหล่งพุนาร้อนดอยสะเก็ดประกอบด้วยภาพกิจกรรมส่วนท ่ ี
�
้
�
นักท่องเท่ยวหรือคนภายนอกสามารถเข้าร่วมหรือรับบริการได้ คือ การอาบนาแร่และการนวด นอกจากน้นเป็นกิจกรรมท่เป็น
ั
้
ี
ี
อาชีพ วัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ๆ นักท่องเที่ยวหรือคนภายนอกสามารถเข้าร่วมได้ในระดับที่จ�ากัดหรือในฐานะ
ผู้เฝ้าสังเกตการณ์ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การท�าการเกษตร และงานประเพณี
ในชุดภาพแหล่งพุนาร้อนโป่งปูเฟืองมีภาพกิจกรรมท่นักท่องเท่ยวหรือคนภายนอกเข้าร่วมได้คือการปรุง
้
�
ี
ี
ี
อาหารท่แหล่งพุน�าร้อนและการซ้อของฝาก นอกจากน้นคือกิจกรรมท่เข้าร่วมได้ในระดับท่จากัด เช่นการต้มยาสมุนไพร
้
ื
ี
ี
�
ั
สวนพุทรา และการแสดงของกลุ่มชาติพันธุ์
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
245 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.