Page 80 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 80

ื
                                                        ี
                                                                                                         ั
                                                                                                ื
                                                                                                   ี
                      ผลการวิจัยด้านลักษณะทางกายภาพของพ้นท่ใช้สอย พบว่าผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีความต้องการให้พ้นท่ใช้สอยท่วไป
                                                                                                     ื
                                                                                                       ี
                                                                 �
              มีบรรยากาศแบบสบาย เฟอร์นิเจอร์แบบไม่เป็นทางการ มีอุปกรณ์อานวยความสะดวกตามวัตถุประสงค์ของแต่ละพ้นท่ โทนส ี
              เป็นสีโทนอ่อนและโทนสีธรรมชาติ (Earth Tone) ผู้ใช้บริการส่วนหนึ่งต้องการให้พื้นที่ใช้สอยมีความสนุก-ตื่นเต้น แตกต่าง
              ไปจากพื้นที่ใช้งานปรกติทั่วไป ปัจจัยด้านคุณลักษณะของผู้ใช้บริการไม่มีผลต่อความต้องการลักษณะทางกายภาพของพื้นที่
                                                                                                           ั
                               ื
                                                    ี
                                                  ื
              ใช้สอยอย่างชัดเจน เน่องจากความต้องการใช้พ้นท่ใช้สอยพ้นฐานคล้ายกัน ลักษณะธุรกิจพ้นท่ทางานร่วมเป็นธุรกิจแบบแฟช่น
                                                                                  ื
                                                                                      �
                                                           ื
                                                                                    ี
              เปล่ยนลักษณะไปตามสมัยนิยม ทาให้การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในเป็นไปตามยุคสมัยไปด้วย ผู้ใช้บริการจึงพอใจในลักษณะ
                                       �
                 ี
                          ี
                                                           ี
                                                                ื
              ทางกายภาพท่คล้ายกัน และผู้ใช้บริการส่วนใหญ่จะเลือกท่จะใช้พ้นท่ทางานร่วม ตามท่ตนเองชอบและใช้งานได้เหมาะสมกับ
                                                                   �
                                                                                ี
                                                                  ี
              ตนเอง
              6. กิตติกรรมประกาศ
                                           ี
                                                                                                     �
                                                                                               ี
                      ผู้วิจัยของขอบคุณอาจารย์ท่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ญาณินทร์ รักวงศ์วาน ท่คอยให้คาปรึกษา
              แนะน�าในการท�างานอย่างเสมอมา ขอบคุณเจ้าหน้าที่พื้นที่ท�างานร่วม และผู้ให้ข้อมูลทุกท่าน
              เอกสารอ้างอิง
              จันทนี เพชรานนท์. (2542). การท�ารายละเอียดประกอบโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ: สถาบัน
                      เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
              ณิศา พงษ์ไชยวรฤทธิ์. (2557). แผนธุรกิจสร้างพื้นท�างานร่วมกัน (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา
                      วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
              ถิรายุ  ชุมสาย  ณ  อยุธยา.  (2557).  การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการตีความปรากฏการณ์และการนาไปใช้ในงานวิจัยด้าน
                                                                                           �
                      สถาปัตยกรรมภายใน  ในประเทศไทย.  วารสารวิชาการ  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สถาบันเทคโนโลย   ี
                      พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 19 (2), 51-63.
              บุษกร  รมยานนท์.  (2558).  การออกแบบพื้นที่ส�าหรับการเรียนรู้ด้วยตัวเองในมหาวิทยาลัย.  Journal  of  Architectural/
                      Planning Research and Studies. 12(1), 15-28
              สุภัชชา  โฆษิตศรีปัญญา.  (2558).  การสร้างชุมชน  (COMMUNITY)  ใน  COWORKING  SPACE  (การค้นคว้าอิสระ
                      วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
              Dullroy, J. (2012). Coworking began at Regus... but not the way they think. Retrieved from http://www.deskmag.
                      com/en/coworking-did-begin-at-regus-but-not-the-way-they-think-362.

              Foertsch, C. (2017). More Than One Million People Will Work in Coworking Space in 2017. Retrieved from
                      http://www.deskmag.com/en/background-of-the-2017-global-coworking-survey.
              Spinuzzi, C. (2012). Working Alone, Together: Coworking as Emergent Collaborative Activity. Journal of Business
                      and Technical Communication. 26(4), 399-441.

















                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            73    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85