Page 104 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 104
1. บทนำ
ปทมธานเปนหนงในจงหวดทอยในเขตปรมณฑล มอาณาเขตติดตอกบกรงเทพมหานคร เปนจงหวดทมการเปลียนแปลง
่
ี
ี
่
่
ิ
ึ
ู
ี
ุ
ุ
ั
ี
ั
่
ี
ั
ั
ั
้
่
ี
่
ของเมืองอยางรวดเร็ว ซงเปนผลมาจากการขยายตัวของกรงเทพมหานคร ทมอตราการเพมของประชากรทสูงขน และจากนโยบาย
ั
่
ี
ี
ุ
ึ
ิ
่
ึ
ั
ั
ั
ี
่
ั
ั
ี
ิ
ุ
การพฒนาระดบประเทศ ทไมไดมุงเนนเฉพาะกรงเทพฯ แตมการขยายการพฒนาดานตาง ๆ ไปในเขตจงหวดปริมณฑล อาทระบบ
สาธารณูปโภค โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่ราชการ การลงทุนดานอสังหาริมทรพย ความตองการที่อยอาศยทังจากประชากรใน
ั
ั
ู
้
ี
ั
่
ี
่
้
่
ี
ั
ื
่
ี
ี
ื
่
้
พนท ผูทเขามาทำงานในพนท และผูทตองการบานพกอาศัยในราคาทีไมแพงนก ทำใหมการยายบานเรือนออกไปอยูตามชานเมือง
ึ
มากขึ้น เขตพื้นที่ที่อยติดกับกรงเทพฯ อยางเชนจังหวัดปทุมธานี จึงมีโครงการบานจัดสรรเกิดขนเปนจำนวนมาก และมีโครงขาย
ุ
้
ู
ี
ั
่
ื
้
ุ
ื
ี
คมนาคมทสามารถเชอมโยงจนแทบไมสามารถแยกเขตของกรงเทพฯ กบเขตจงหวดปทมธานไดเลย เพราะพนทของความเปนเมอง
่
ุ
ั
ี
ื
่
ั
ื
และกิจกรรมตาง ๆ มีความตอเนื่องกันจนเรียกไดวาเปนเมองเดยวกันในทุก ๆ ดาน (อางอิงจากบทความ: สำรวจ “เมืองปทุมฯ”
ี
แดนเหนอแหงกรงเทพฯ: realist post)
ุ
ื
่
ื
ั
ุ
ั
ั
การคมนาคมและขนสงในจงหวดปทมธานใชทางบกเปนหลก มทางหลวงแผนดินเชอมโยงระหวางภมิภาค จงหวด อำเภอ
ั
ู
ี
ี
ั
ตำบล และหมูบาน อกทงมระบบทางดวนทสามารถกระจายการจราจรบริเวณรอบนอกเขาสใจกลางเมือง ถงแมวาจงหวดปทมธาน ี
ู
้
ั
ั
ี
ั
่
ี
ี
ึ
ุ
จะมีโครงขายถนนที่ครอบคลุม แตก็ยังไมสามารถระบายการจราจรที่ติดขัด ประกอบกับระบบขนสงมวลชนยังไมเปนที่นิยม
ิ
เนื่องจากประสิทธิภาพของยานพาหนะ ความปลอดภัยในการเดนทาง ความถี่ในการใหบริการ เวลาที่ใชในการเดินทาง และไม
สามารถเขาถึงไดทุกพื้นที่ที่ตองการ เปนตน ดังนั้นทางรัฐบาลจึงมีโครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนใหครอบคลุมพื้นท ่ ี
ิ
ุ
กรงเทพมหานครและขยายเครือขายไปยังปรมณฑล เพอกระจายเสนทางการเดนทางขนสงผูโดยสารปริมาณมาก ใหมความสะดวก
่
ื
ี
ิ
ึ
ั
รวดเร็ว ลดปญหาการจราจรติดขัด ลดปญหาอุบติเหตุบนทองถนน นอกจากนี้ยังเปนอีกทางเลือกหน่งในเสนทางคมนาคมใหมแก
ผูที่ใชบริการ เนื่องจากเปนเสนทางคมนาคมที่แยกจากการจราจรประเภทอื่น มีระยะเวลาในการใหบริการสม่ำเสมอ สามารถ
ิ
่
เดินทางถึงที่หมายไดในเวลาที่กำหนด และเมื่อวันที 16 ธันวาคม 2563 รัฐบาลก็ไดมการเปดใหบรการรถไฟฟาสายสีเขียวสวนตอ
ี
ิ
ิ
ขยายชวงหมอชต-สะพานใหม-คคต จำนวน 7 สถานี ประกอบดวย สถานีพหลโยธน 59 (N18) สถานีสายหยุด (N19) สถานีสะพาน
ู
ใหม (N20) สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (N21) สถานีพิพิธภัณฑกองทัพอากาศ (N22) สถานีแยก คปอ. (N23) และสถานี
คูคต (N24) เชื่อมโยงทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานครไปยังพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเปนรถไฟฟาสายแรกในพื้นที่จังหวด
ั
ปทุมธานีอีกดวย อยางไรก็ตาม แมวาการเดินทางดวยรถไฟฟาจะมีขอดหลายประการ แตเนื่องจากมีแนวเสนทางการวิ่งอยูกลาง
ี
ั
ถนน การเขา-ออกสถานีจะทำไดโดยอาศยทางขึ้น-ลง ที่มีอยู 4 แหง ทำใหจำกัดความสามารถในการเขาถึงสถานีที่จะตองใชการ
ี
ี
่
ี
่
่
ี
เดินเทา และปญหาลักษณะทางกายภาพทไมมสิงอำนวยความสะดวกสำหรับคนเดนเทา เชน ทางเทาชำรุด มสิงกดขวางบนทางเทา
ิ
(ปาย เสาไฟฟา ฯลฯ) ไมมีทางลาดสำหรับคนพิการ แสงสวาง ที่จอดรถสำหรับจอดแลวจร และจอดรับ-สง รวมถึงการเชื่อมตอ
ึ
บริการสาธารณะอืน ๆ เปนตน ซึ่งอาจจะไมสอดคลองกับพฤตกรรมการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ ผูวิจัยจงมีความสนใจท่จะ
่
ิ
ี
ู
ี
ิ
ศกษาพฤตกรรมและความสามารถในการเขาถงระบบขนสงมวลชนขนาดใหญ โครงการรถไฟฟาสายสีเขยว กรณีศกษา สถานีคคต
ึ
ึ
ึ
จังหวัดปทุมธาน โดยบทความวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อหาผลการศึกษาในดานพฤตกรรมการเดนทาง ความตองการและอุปสรรคใด
ี
ิ
ิ
ที่มีผลตอความสามารถในการเขาใชบริการรถไฟฟาสถานีคูคต โดยศึกษาลักษณะของประชากร พฤติกรรมการเดินทาง ความ
ตองการและอุปสรรค โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหไดขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการเขาถึงการใช
บรการรถไฟฟาในอนาคต (อางองจากบทความ: โครงการรถไฟฟาสายสีเขยว ชวงหมอชต-สะพานใหม-คูคต: residences.in.th)
ิ
ิ
ิ
ี
ิ
ั
2. แนวคิดงานวจย
ึ
ึ
ู
ิ
ั
ี
่
้
ี
ั
ั
ิ
่
ี
ึ
ั
ื
่
งานวจยนเกยวกบการศกษาเรองพฤตกรรมการเดินทาง ความสามารถในการเขาถง ตลอดจนปจจยตาง ๆ ทเปนตวดงดด
ใหเกิดการใชระบบขนสงมวลชนขนาดใหญ โดยศึกษาจากผูที่ใชบริการสถานีคูคต โดยตรง โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจาก
เอกสาร ผลงานวิจัย ทบทวนแนวความคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวของจากแหลงขอมูลตาง ๆ สำรวจภาคสนามและทำการเก็บ
ึ
ุ
ี
ี
่
ขอมูลจากแบบสอบถาม เพื่อทจะไดทราบถงความคิดเห็นของประชาชนวามอปสรรคหรือความตองการใดบางในการเดินทางเขาสู
สถานี และจากการเดินทางในปจจุบันตองการจะใหมีการพัฒนาในทางดานใด เพื่อที่จะสนับสนุนใหเกิดการเดินทางเขาสูระบบ
ึ
้
ขนสงมวลชนขนาดใหญไดสะดวกรวดเร็ว และปลอดภัยยิ่งขึ้นในอนาคต ในปจจุบันมีการพัฒนาระบบโครงขายคมนาคมเพิ่มขน
ั
หลายเสนทาง โดยสามารถสรุปประเด็นวิจัยที่เกี่ยวของ 4 ประเด็น ไดแก 1) พฤติกรรมการเดินทาง 2) แนวคิดเกี่ยวกบ
ความสามารถในการเขาถึง (Accessibility) 3) ปจจัยที่มีผลตอความสามารถในการเขาถึงระบบขนสงสาธารณะ 4) การบริหาร
ั
จดการเชือมตอระบบขนสง (Feeder)
่
95