Page 121 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 121
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
สภาพแวดล้อมการนวดไทยและสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงอายุ
ในส่วนการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล จังหวัดนครปฐมและจังหวัดราชบุรี
Thai Massage Surroundings and Facilities for Elders in Terms of Traditional
Thai Medicine in Hospitals in Nakhon Pathom and Ratchaburi Province
1
วารีนันท์ ระวีโชติพัฒน์ เบญจมาศ กุฏอินทร์ 2
บทคัดย่อ
งานแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลรัฐหลายแห่ง มีแนวโน้มพัฒนาการไปในทิศทางที่ดีขึ้น แต่จากการสังเกตส่วน
แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล พบว่ายังมีหลายจุดที่พบปัญหาหลังจากการเข้าใช้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหา
ุ
และเสนอแนะแนวทางในการปรบปรงสภาพแวดล้อมการนวดไทยและส่งอ�านวยความสะดวกสาหรบผสูงอายในส่วนการแพทย ์
ั
ุ
�
ั
ิ
้
ู
แผนไทยในโรงพยาบาลจังหวัดนครปฐมและจังหวัดราชบุรี
ั
ึ
่
ี
ิ
การวิจยน้เป็นการวจัยเชิงคุณภาพ ซงเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต�าบล โดยใช้แบบสังเกตส่งอ�านวยความสะดวกตามมาตรฐานแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลเพ่อเก็บข้อมูล
ิ
ื
น�าผลจากการสังเกต มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตรฐานสิ่งอ�านวยความสะดวกในส่วนแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล
ผลจากการสังเกตส่วนการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลท้ง 3 ระดับ เปรียบเทียบกับมาตรฐาน พบว่าท้ง 3 โรงพยาบาล
ั
ั
มีห้องตรวจได้มาตรฐาน บริเวณเก็บยาเป็นสัดส่วน ห้องนวดรวมมีระยะระหว่างเตียงห่างกันเพียง 50 เซนติเมตร ห้องนวดรวม
ที่มีการประคบสมุนไพร ห้องอบไอน�้าสมุนไพร กระโจมอบสมุนไพร และห้องทับหม้อเกลือ ไม่มีพัดลมระบายอากาศ และไม่มี
ที่เก็บของใช้ส่วนตัวผู้รับบริการ โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง ยังไม่ได้มีการออกแบบสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงอายุมาก
เท่าที่ควร เช่น ลานจอดรถ ทางลาด และสัญลักษณ์คนพิการยังไม่ถูกต้อง ภายในส่วนแพทย์แผนไทยไม่มีป้ายชี้ทางไปตาม
ห้องต่างๆ บริเวณทางลาดไม่มีป้ายแสดงต�าแหน่งทางลาด ห้องน้าคนพิการยังไม่ตรงตามมาตรฐาน และจุดติดต่อประชาสัมพันธ์
�
ความสูงของเคาน์เตอร์ ยังไม่เหมาะส�าหรับผู้ที่ใช้วีลแชร์ ขนาดราวจับบันได และลูกตั้งลูกนอนของบันไดยังไม่ได้มาตรฐาน
ในส่วนจุดพักคอยผู้ใช้บริการแพทย์แผนไทยมีที่พักเพียงพอ แต่ไม่มีที่จอดวีลแชร์
โรงพยาบาลท้ง 3 แห่ง ควรปรับปรุงส่วนการแพทย์แผนไทยดังน้ ควรติดต้งพัดลมดูดอากาศในส่วนห้องนวด ห้องอบ
ี
ั
ั
ไอสมุนไพร กระโจมอบสมุนไพร และส่วนทับหม้อเกลือ ขยายขนาดประตูของห้องอบไอน้าเป็นขนาด 90 เซนติเมตร ควรจัด
�
ห้องนวดให้ระยะระหว่างเบาะนวดไม่น้อย 80 เซนติเมตร ด้านบนประตูควรเพิ่มช่องมองกระจกใสระดับสายตา ห้องอบไอน�้า
ควรเปลี่ยนฝ้าเป็นวัสดุที่กันน�้า อุปกรณ์ไฟฟ้าควรเป็นชนิดที่กันความชื้น เพิ่มกระดิ่งสัญญาณฉุกเฉิน มีฉนวนหุ้มท่อกระจาย
ิ
ี
�
ไอน้า เพ่มตู้เก็บของส�าหรับผู้มาใช้บริการ ตามท่มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) ได้ก�าหนดไว้ เพิ่มพื้นที่จอดรถส�าหรับคนพิการ และมีป้าย หรือสัญลักษณ์ บอกจุดจอดรถส�าหรับ
คนพิการ ควรท�าทางลาดให้มีความชัน 1:12 เพิ่มพื้นผิวต่างสัมผัส มีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ในส่วนทางขึ้น และทางลง
้
�
่
ื
่
ิ
ู
ิ
�
ั
ิ
ั
ทางลาด ควรตดตงสัญลักษณ์สาหรบคนพการใหถกตอง โดยเพมปายบอกทางและเคร่องหมายไปส่สงอานวยความสะดวกตางๆ
ิ
้
้
่
ู
้
ิ
ทุกจุด ห้องน้าคนพิการควรติดสัญลักษณ์คนพิการท่ประตู เพ่มกระด่งสัญญาณฉุกเฉิน และติดต้งราวจับแบบพับเก็บได้
ั
ี
ิ
�
เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ของคนพิการควรให้มีความสูง 80 เซนติเมตร ท�าบันไดให้มีลูกตั้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร ลูกนอน
กว้างไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร พื้นผิวไม่ลื่น ควรเปลี่ยนราวจับกลมให้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร และเพิ่มราวจับ
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณ
ทหารลาดกระบัง
2 ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 8 116