Page 119 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 119
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
7. อภิปรายผลการวิจัย
จากการส�ารวจเกสท์เฮ้าส์กรณีศึกษา 4 แห่ง พบว่าไม่มีสิ่งอ�านวยความสะดวกพื้นฐานและสิ่งอ�านวยความสะดวก
ี
ี
ิ
ี
เพ่มเติมส�าหรับนักท่องเท่ยวสูงวัย เช่น ไม่มีท่จอดรถส�าหรับผู้สูงวัย ไม่มีทางลาดส�าหรับวีลแชร์ มีป้ายสัญลักษณ์ส่วนท่จอดรถ
ี
ื
ั
�
และห้องน้าโดยป้ายไม่ท�าตามกฎกระทรวงท้งขนาดและการใช้สี ไม่มีพ้นท่ให้บริการข้อมูลและเคาน์เตอร์ไม่สามารถรองรับผู้ใช้
ี
ู
ี
ั
้
�
ั
ี
วลแชร์ ไม่มห้องนาสาธารณะส�าหรบผู้สงวย ทางเข้าอาคารเป็นพนต่างระดบและขรขระ ประตูทางเข้าอาคารมความกว้าง
ุ
ื
้
ั
ื
ั
น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ทางเช่อมระหว่างอาคาร-ระเบียงเป็นพ้นต่างระดับและไม่ท�าทางลาด บันไดลูกต้งสูงเกิน 15 เซนติเมตร
ื
ลูกนอนไม่มีวัสดุกันลื่น และไม่มีห้องพักส�าหรับผู้สูงวัย (กระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการควบคุมอาคาร, 2548; กระทรวง
ท่องเที่ยวและกีฬา ส�านักพัฒนาบริการท่องเที่ยว ส�านักงานพัฒนาการท่องเที่ยว, 2550) แต่กลุ่มผู้ประกอบการตระหนักถึง
นักท่องเที่ยวสูงวัยที่เข้ามามากขึ้น เนื่องจากมีการปรับปรุงพื้นที่ชั้น 1 ให้เป็นห้องพัก และในอนาคตต้องการปรับปรุงห้องน�้า
เช่น ใส่วัสดุกันลื่น ใส่ราวจับ เป็นต้น เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวสูงวัยที่เข้าพัก ส่วนนักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ต้องการ
ให้ปรับปรุงพ้นท่เดิมเพ่อรองรับกับการใช้งานให้เหมาะสมมากข้น ดังน้ 1) ท�าห้องพักให้มีขนาดกว้าง มีห้องน้าภายในห้องพัก
ี
ื
�
ึ
ี
ื
วัสดุปูพื้นไม่ลื่น รวมทั้งมีราวจับบริเวณโถสุขภัณฑ์ แบ่งพื้นที่แห้งและเปียกออกจากกัน 2) บันไดมีราวจับทั้งสองข้าง มีวัสดุ
ื
ี
ั
ื
ื
ี
กันล่นท่ลูกนอนและลูกต้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร 3) พ้นภายในเกสท์เฮ้าส์ไม่ควรมีการเปล่ยนระดับมาก หรือหากมีพ้น
ต่างระดับควรสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร 3) เพิ่มแสงสว่างให้ห้องพัก ห้องน�้าและห้องพักผ่อนส่วนกลางโดยแสงควรเป็นสีขาว
ิ
ี
ี
ี
เป็นต้น แต่นักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์ไม่ได้ต้องการส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับผู้สูงวัยท่ออกแบบมาโดยเฉพาะ เช่น
ื
ี
ี
ทางลาดส�าหรับรถเข็น ห้องน้าและห้องพักส�าหรับผู้สูงวัย เป็นต้น เน่องจากนักท่องเท่ยวกลุ่มน้มีมุมมองต่อตนเองว่า ยังสามารถ
�
ช่วยเหลือตนเองได้และยังไม่ใช่ผู้สูงวัย สอดคล้องกับงานวิจัยของ Pew Social Trends อ้างถึงใน สคร. ไมอามี่ (2557)
พบว่า กลุ่มเบบี้บูมเมอร์จะไม่คิดว่าตนสูงวัย ยังรู้สึกแข็งแรง ต้องการเดินทางท่องเที่ยว ไม่ชอบถูกเรียกว่า ผู้สูงวัย เนื่องจาก
ั
ั
ิ
ี
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีอายุเพียง 52-58 ปีเท่าน้นและไม่ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ ดังน้นจ�าเป็นต้องศึกษาเพ่มเติมกับกลุ่มนักท่องเท่ยว
ที่มีอายุมากขึ้น
จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้ประกอบและนักท่องเท่ยวสูงวัยยุคเบบ้บูมเมอร์เก่ยวกับองค์ประกอบเกสท์เฮ้าส์
ี
ี
ี
ที่สื่อบรรยากาศความเป็นจังหวัดน่าน พบว่า 1) ภายในเกสท์เฮ้าส์ควรมีภาพจิตรกรรมแบบน่าน และงานไม้แกะสลัก 2) วัสดุ
ี
ิ
ี
พ้น ผนังและฝ้าควรใช้ไม้เป็นองค์ประกอบ จากการส�ารวจเกสท์เฮ้าส์พบว่า ส่งเหล่าน้เป็นองค์ประกอบท่ปรากฏในเกสท์เฮ้าส์
ื
ทั้ง 4 แห่ง
8. ข้อเสนอแนะ
8.1 ข้อเสนอแนะในการน�าผลการวิจัยไปใช้
ื
ี
8.1.1 จากผลการวิจัยพบว่าเกสท์เฮ้าส์ใน อ�าเภอเมือง จังหวัดน่าน ควรปรับปรุงเพ่อรองรับนักท่องเท่ยวสูงวัย
�
ี
ยุคเบบ้บูมเมอร์ ดังนี้ 1) ห้องพักควรมีขนาดกว้าง มีแสงสว่างเพียงพอ และมีห้องน้าภายในห้องพัก 2) ห้องน้าภายในห้องพัก
�
ี
ื
ื
วัสดุพ้นควรเป็นวัสดุกันล่น มีราวจับบริเวณโถสุขภัณฑ์เพ่อช่วยพยุงตัว และแบ่งพ้นท่โซนเปียกและแห้งออกจากกัน 3) บันได
ื
ื
ควรมีวัสดุกันลื่น มีราวจับทั้ง 2 ข้าง ลูกตั้งไม่ควรสูงเกิน 20 เซนติเมตร และมีไม้ปิด 4) พื้นในเกสท์เฮ้าส์ไม่ควรเป็นพื้น
ต่างระดับ หรือหากเป็นพื้นต่างระดับ ควรมีความสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร และ 5) เพิ่มแสงสว่างให้กับห้องพัก ห้องน�้า
ในห้องพัก และห้องพักผ่อนส่วนกลางและแสงควรเป็นสีขาว
ิ
8.1.2 ข้อเสนอแนะในการเลือกส่งท่ส่อถึงความเป็นจังหวัดน่านของเกสท์เฮ้าส์มี ดังน้ 1) ภายในเกสท์เฮ้าส์
ี
ี
ื
ี
ควรมีภาพจิตรกรรมแบบน่าน และงานไม้แกะสลัก 2) วัสดุพ้น ผนังและฝ้า ควรใช้ไม้เป็นองค์ประกอบ และ 3) สไตล์ของท่พัก
ื
เกสท์เฮ้าส์ ควรเป็นแนวร่วมสมัย ผสมของเก่าและของใหม่
Vol. 8 114