Page 124 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 124
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
ิ
ในการจัดการบริการแพทย์แผนไทยท่ได้มาตรฐาน แต่ความเป็นจริงอาคารและส่งอานวยความสะดวกยังไม่ได้มาตรฐานตามท ี ่
�
ตั้งไว้ ปทิตตา จารุวรรณชัย และกฤช จรินโท (2556) พบว่าองค์กรแพทย์ทางเลือกมีการจัดให้บริการการแพทย์ทางเลือก
ตามนโยบายของรัฐบาล โดยส่วนมากจัดให้บริการร่วมในแผนกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลของรัฐ
แต่ปัจจุบันยังมีปัญหา และอุปสรรคในการด�าเนินงาน คือ ด้านบุคลากร พบว่าไม่มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ ผู้ให้บริการ
ไม่เพียงพอ และบุคลากรขาดทักษะความเชี่ยวชาญในการท�างาน ปัญหาด้านงบประมาณที่มีจ�ากัด ไม่มีงบสนับสนุนในเรื่อง
สถานที่อุปกรณ์ จึงต้องบริหารจัดการไปตามบริบทที่มีอยู่ ธีรยุทธ วงค์ชัย และคณะ (2556) พบว่างานแพทย์แผนไทยของ
ี
ึ
ี
ั
โรงพยาบาลรัฐหลายแห่ง มีแนวโน้มพัฒนาการไปในทิศทางท่ดีข้น เช่น มีความพร้อมด้านอาคารสถานท่ท้งส่วนให้บริการ
ี
ื
ึ
�
้
และการผลิตมีบุคลากร และมีการบริการท่หลากหลายมากข้น แต่พัฒนาการดังกล่าวมีความเหล่อมลากันในแต่ละโรงพยาบาล
บางแห่งมีศักยภาพสูงในการผลิตยาสมุนไพรเพ่อใช้ในโรงพยาบาลและส่งจาหน่าย บางโรงพยาบาลยังมีพัฒนาการท่ล่าช้าท้งด้าน
�
ื
ี
ั
ี
�
ื
ี
ี
กิจกรรมบริการ กาลังคนและอาคารสถานท่ จากการวิจัยท่ผ่านมาพบว่ามีแต่การศึกษาเร่องความคิดของบุคลากรเก่ยวกับปัญหา
ด้านแพทย์แผนไทย แต่ไม่มีการศึกษาด้านสิ่งอ�านวยความสะดวกในอาคารและสถานที่ โดยระดับของมาตรฐานโรงพยาบาล
ส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท) แบ่งออกเป็นโรงพยาบาล 3 ระดับ คือ
โรงพยาบาลศูนย์ (รพ.ศ) โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน (รพ.ช) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพ.สต.)
(กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) จึงเป็นที่มาของการสังเกตโรงพยาบาล 3 ระดับ
ิ
ี
�
�
ั
ี
�
ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาเก่ยวกับส่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ ท้งน้จึงนามาตรฐานด้านสถานท ี ่
และสภาพแวดล้อมการนวดไทย (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) และกฎกระทรวงก�าหนดลักษณะ
ี
ื
ื
หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ ส่งอานวยความสะดวก หรือบริการในอาคารสถานท่ หรือบริการสาธารณะอ่น เพ่อให้คนพิการสามารถ
ิ
�
เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ พ.ศ. 2555 (ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2556) มาใช้ส�ารวจสิ่งอ�านวยความสะดวกภายใน
�
้
ส่วนการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล กล่าวคือ ห้องนวด ห้องอบไอนา กระโจมอบ ห้องทับหม้อเกลือต้องมีพัดลมดูดอากาศ
�
ระยะห่างของเบาะนวด 80 เซนติเมตร ห้องตรวจและห้องเก็บยามีมาตรฐาน ห้องอาบนาแยกชายหญิงและเพียงพอ มีตู้สาหรับ
้
�
เก็บของของผู้ใช้บริการ มีป้าย หรือสัญลักษณ์บอกจุดจอดรถส�าหรับผู้พิการ ทางลาดให้มีความชัน 1:12 มีพื้นผิวต่างสัมผัส
ื
มีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ติดต้งสัญลักษณ์คนพิการให้ถูกต้อง มีป้ายบอกทาง และเคร่องหมายไปสู่ส่งอานวยความสะดวก
ั
ิ
�
�
ต่างๆ มีห้องนาคนพิการราวจับเป็นแบบพับเก็บได้ มีกระด่งสัญญาณฉุกเฉินในห้องนา เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์สาหรับคนพิการ
้
�
้
�
ิ
สูงไม่เกิน 80 เซนติเมตร บันไดลูกต้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร ลูกนอนกว้างกว่า 30 เซนติเมตร ราวจับกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ั
3-4 เซนติเมตร ราวจับให้มีสองระดับและปลายราวจับให้โค้งวกลงด้านล่าง จุดพักคอยส�าหรับวีลแชร์ อย่างน้อย 1 ที่
4. วิธีด�าเนินการวิจัย
4.1 วิธีการวิจัย
การวจยนเปนการวจยเชงคณภาพ ซงเปนการศกษาเฉพาะกรณ โรงพยาบาลศนย โรงพยาบาลชมชน โรงพยาบาล
ุ
์
ู
ุ
ิ
ึ
็
ิ
้
ั
ั
ิ
ี
็
ึ
่
ี
ส่งเสริมสุขภาพประจ�าต�าบล โดยใช้แบบสังเกตสิ่งอ�านวยความสะดวกตามมาตรฐานแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล เพื่อเก็บ
ข้อมูลนามาประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลโรงพยาบาล นาผลจากการสังเกต มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตรฐานส่งอานวย
ิ
�
�
�
ความสะดวกในส่วนแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล
4.2 กรณีศึกษา
�
ี
ผู้วิจัยเลือกกรณีศึกษาจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่มีการแพทย์
์
ิ
่
ั
ั
์
แผนไทยในโรงพยาบาล เพราะระดบของมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสรมและสนบสนนการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน
ุ
(รพ.สส.พท) ได้แบ่งออกเป็นโรงพยาบาล 3 ระดับ (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ผู้วิจัยคัดเลือก
โรงพยาบาลกรณีศึกษาแบบเจาะจงจากโรงพยาบาลในเขตพื้นที่จังหวัดนครปฐมและจังหวัดราชบุรี ที่มีแพทย์ด้านการแพทย์
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
119 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.