Page 13 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 13
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
จากตารางท่ 1-3 สรุปได้ว่า บ้านพักอาศัยในชุมชนเกาะโหลน ไฟฟ้าแสงสว่างส่วนใหญ่เป็นหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
ขนาด 3 วัตต์ อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัย จะมีเพียง TV ขนาด 14 นิ้ว พัดลมตั้งพื้น และในบ้านพักอาศัยเพียง
1-2 หลัง จะมีเคร่องซักผ้า และเตารีดด้วย จากตาราง จะเห็นว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัยในชุมชนเกาะโหลนมีเพียง
ื
่
ี
่
ื
ิ
ื
ั
ั
ไม่กช้น เนองจากถูกจากดจากปริมาณไฟฟ้า และภาระค่าใช้จ่ายจากเคร่องปั่นไฟนามันดีเซลล์ และช่วโมงการใช้งานน้อย
้
�
�
ี
ี
�
ไม่สามารถใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าได้อย่างเต็มท่ และในบ้านพักอาศัยท่มีการใช้เคร่องปั่นไฟน้ามันดีเซลล์ก็จะมีภาระค่าใช้จ่ายท ่ ี
ื
ค่อนข้างสูง และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัยมีปริมาณการใช้งานท่มากกว่าก�าลังการผลิตไฟฟ้าของโซล่าเซลล์
ี
จ�านวน 1 แผง ซึ่งของเดิมมีขนาด 12V.120W.
3. การหาปริมาณการผลิตไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ และต�าแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม
เกาะโหลน
เกาะโหลนเป็น 1 ใน 936 เกาะทั้งหมดในประเทศไทย อยู่ในเขตการปกครองของเทศบาลต�าบลราไวย์ อ�าเภอถลาง
จังหวัดภูเก็ต ซึ่งอยู่ทางฝั่งภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เกาะโหลนอยู่ห่างจากเกาะภูเก็ตประมาณ 5 กิโลเมตร ไปทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ มีบ้านเรือนจ�านวน 37 หลัง และจ�านวนประชากร 110 คน (ตามทะเบียนราษฏร์ บ้านเรือน 70 หลัง
ประชาชน 320 คน) เกาะโหลน อยู่ทางฝั่งภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยมีความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ช่วง 18-20 MJ/m2-day
ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพด้านพลังงานแสงอาทิตย์
รูปที่ 3 แผนที่จังหวัดภูเก็ต และเกาะโหลน
ที่มา: http://www.phuketseatravel.com
Vol. 8 8