Page 18 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 18

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                in  this  study  found  that  factors  affecting  the  successful  adoption  of  the  comprehensive  plan  is  a  rapid,
                coordinated and accurate procedures for the preparation of a comprehensive plan under the plan 2518 and
                                 th
                                                                      nd
                amended for all 18  steps. Moreover, the key steps are the 2  step of the analysis and preparation of the
                                                                                th
                draft plan, the 4  Step on the meetings to hear public opinion, and the 7  Step on the collection and verify
                              th
                of the petition.
                Keywords: Comprehensive Plan, Factors that Affect the Success, The Adopted



                1. บทน�า

                       กรมโยธาธิการและผังเมือง (2555) มีภารกิจเกี่ยวกับงานด้านการผังเมืองระดับต่างๆ การโยธาธิการ การออกแบบ
                                                                                           ิ
                                                      �
                การก่อสร้างและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร  ดาเนินการและสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นในด้านการพัฒนาเมือง
                                                                                    ิ
                                                                                  ั
                                                                                                    ื
                  ื
                    ี
                                                                       ี
                พ้นท่ และชนบท โดยการกาหนดและกากับดูแลนโยบายการใช้ประโยชน์ท่ดิน ระบบการต้งถ่นฐานและโครงสร้างพ้นฐานรวมท้ง ั
                                             �
                                    �
                การกาหนดคุณภาพและมาตรฐานการก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรม  วิศวกรรม  และการผังเมือง  เพ่อให้มีสภาพแวดล้อมท่ด  ี
                                                                                           ื
                    �
                                                                                                             ี
                เกิดมาตรฐานความปลอดภัยแห่งสาธารณชนความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองและส่งปลูกสร้าง ตามระบบการผังเมือง
                                                                                     ิ
                ที่ดี อันจะน�าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ภารกิจในการด�าเนินการวางและจัดท�าผังเมืองรวม มีหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบ
                ได้แก่ กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งทั้งสองหน่วยงานดังกล่าวมีบทบาทส�าคัญในการขับเคลื่อน
                                                                                                    �
                      �
                                       �
                                                                                    ี
                ให้การดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวมให้มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย แต่ในช่วง 50 ปี ท่ผ่านการวางและจัดทาผังเมืองรวม
                ท่ประกาศบังคับใช้ยังไม่ประสบความสาเร็จ เน่องจากปัญหาต่างๆ หลายประการ เช่น 1) ปัญหาอุปสรรคของข้นตอนการจัดทา �
                                             �
                  ี
                                                                                                  ั
                                                   ื
                ผังเมือง 18 ขั้นตอน คือ มีขั้นตอนมาก โดยเฉพาะขั้นตอนที่ 5 เป็นต้นไป มีความล่าช้าในการจัดท�าผังเมือง คณะกรรมการ
                                                                                              ึ
                ผังเมืองและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นมีความเห็นไม่ตรงกันในเร่องการกาหนดสีการใช้ประโยชน์ท่ดิน ซ่งความล่าช้าดังกล่าว
                                                                       �
                                             ิ
                                                                                          ี
                                                                 ื
                ท�าให้ไม่ทันต่อการบังคับใช้ตามกฎหมาย 2) ปัญหาความไม่พร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านบุคลากรที่มีความรู้
                ความช�านาญในการจัดท�าผังเมือง  ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งจะมีบุคลากรที่ท�าหน้าที่โดยตรงด้านผังเมือง
                แต่บุคลากรส่วนใหญ่เป็นบุคลากรที่ไม่มีความรู้ด้านผังเมือง 3) ปัญหาขาดการมีส่วนรวมของประชาชนในกระบวนการจัดท�า
                ผังเมืองน้อย ปัญหาเร่องผังเมืองเป็นเร่องของการลิดรอนสิทธิ เน่องจากประชาชนขาดความรู้ และมองว่าผังเมืองเป็นตัวควบคุม
                                             ื
                                                                ื
                                ื
                                  ี
                ให้ตนเองไม่สามารถใช้ท่ดินได้ตามความต้องการ และ 4) ปัญหาขาดการสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาตามผัง ทาให้การพัฒนา
                                                                                                   �
                                                                                           �
                                                                    �
                                                                   ี
                                                                                   ื
                                             �
                            ึ
                                      ี
                ไม่สามารถเกิดข้นได้จริงตามท่ผังเมืองกาหนด เป็นต้น จึงเป็นสาเหตุท่ทาให้เกิดความไม่ต่อเน่องในการดาเนินการออกกฎกระทรวง
                บังคับใช้ได้
                2. แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                       2.1  พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
                           “การผังเมือง” หมายถึง “การวาง จัดทา และดาเนินการให้เป็นไปตามผงเมืองรวมและผงเมืองเฉพาะ ในบริเวณ
                                                                                ั
                                                        �
                                                                                            ั
                                                             �
                                ี
                                                 ื
                              ี
                                                                                  ึ
                เมืองและบริเวณท่เก่ยวข้องหรือชนบท  เพ่อสร้างหรือพัฒนาเมือง  หรือส่วนของเมืองข้นใหม่  หรือแทนเมือง  หรือส่วนของ
                เมืองที่ได้รับความเสียหาย  เพื่อให้มีหรือท�าให้ดียิ่งขึ้น  ซึ่งสุขลักษณะ  ความสะดวกสบาย  ความเป็นระเบียบ  ความสวยงาม
                การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริมการเศรษฐกิจ สังคม และ
                สภาพแวดล้อม  เพอดารงรกษา  หรอบรณะสถานท  และวตถทมประโยชน์  หรอคณค่าในทางศลปกรรม  สถาปัตยกรรม
                                                                                           ิ
                               ื
                               ่
                                                                  ่
                                               ู
                                                                   ี
                                                                  ี
                                                        ่
                                                        ี
                                                                ุ
                                                              ั
                                            ื
                                                                              ื
                                     ั
                                                                                ุ
                                  �
                                                                            ี
                ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศท่งดงาม หรือมีคุณค่าในทางธรรม” (มาตรา 4)
                                           �
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                              13    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23