Page 144 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 144
safety for improvement of the bicycle path, walking and running course. The study conducts 400 questionnaire
th
surveys with the people who have an activity on Her Majesty the Queen’s 60 Birthday. As the results, the
people are mostly satisfied with the bicycle path, walking and running route in the park because its facilities
are functional regarding no barrier on the serviced routes and the completed services of the security guard.
However, the people are slightly concerned about the undistinguished routes between bicycle path and walking
and running course and the installment of safety devices. Moreover, the study found that the design of the
bicycle path and walking and running route might be more considered concerning gender, age, and income,
those are significant factors to the needs of the people who have a service in the particular park.
Keyword: Community Park, Elements of the Park, User Behavior
1. บทน�า
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง ทั้งในทางด้านกายภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม
ื
�
ั
ื
และประชากร เกิดแรงดึงดูดให้คนจากจังหวัดต่างๆ ท่วประเทศเดินทางเข้ามาเพ่อประกอบอาชีพ หรือเพ่อศึกษาต่อทาให้
เกิดปัญหา คือ ความแออัดของประชากร ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการไม่เพียงพอต่อความต้องการ ก่อให้เกิดปัญหา
มลภาวะส่งผลกระทบแก่สุขภาพอนามัยทั้งทางตรงและทางอ้อม
�
สวนสาธารณะ 60 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เกิดจากการทาข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร
ื
ี
ี
ื
กับการเคหะแห่งชาติ เม่อวันท่ 25 กันยายน 2541 โดยการเคหะได้มอบพ้นท่เคหะชุมชนร่มเกล้าให้กับกรุงเทพมหานคร
�
ี
ดาเนินการปรับปรุงเป็นสวนสาธารณะ สาหรับเป็นสถานท่พักผ่อนหย่อนใจและออกกาลังกายของประชาชน เปิดให้บริการ
�
�
อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2551 เป็นการจัดการสวนสาธารณะประเภทชุมชน (Community Park) มีขนาด
พื้นที่มากกว่า 25 ไร่ แต่ไม่เกิน 125 ไร่ ซึ่งจะเน้นการใช้ประโยชน์กับส่วนรวมของคนในชุมชนและคนภายนอกในละแวก
เคหะชุมชนร่มเกล้า การสร้างสภาพแวดล้อมให้มีความสวยงามและสามารถใช้ประโยชน์จากพ้นท่ได้อย่างเต็มท่ได้ถูกนามาใช้
ี
ื
�
ี
ี
้
�
ื
ี
เป็นแนวความคิดในการออกแบบสวนแห่งน้ ด้วยพ้นท่เดิมเป็นบ่อนาขนาดใหญ่ การออกแบบจัดสวนจึงมุ่งเน้นความกลมกลืน
ระหว่างพื้นน�้ากับพื้นราบให้สอดคล้องกัน และเพื่อไม่ให้มีการใช้พื้นที่รบกวนซึ่งกันและกัน กิจกรรมต่างๆ จึงถูกแยกไว้อย่าง
ั
�
เป็นสัดส่วน พร้อมท้งยังมีป้ายบอกเส้นทางสัญจรอย่างชดเจน โดยภายในสวนประกอบด้วย อาคารสานักงาน อาคารอเนกประสงค์
ั
ศาลาพักผ่อน ศาลากลางน�้า ลานกิจกรรม ลานพักผ่อน ลานแอโรบิค ลานริมน�้า ลานน�้าพุ ลานอเนกประสงค์ ทางจักรยาน
ิ
ทางเดิน-ว่ง ลานจอดรถจักรยานและจักรยานยนต์ ลานจอดรถยนต์ สนามเด็กเล่น สนามบาสเก็ตบอล และสนามตะกร้อ
(ส�านักงานสวนสาธารณะ ส�านักสิ่งแวดล้อม ศาลาว่ากรุงเทพมหานคร 2 (ดินแดง), 2558)
ิ
ึ
ี
ี
�
ิ
ื
ื
จากกระแสความนิยมในเร่องการข่จักรยานท่เพ่มสูงข้น และจากการเร่มรณรงค์ให้ใช้จักรยานในชีวิตประจาวันเพ่อลด
�
ั
ั
�
้
ั
ปัญหาการใช้นามน แก้ปัญหารถติด เปนการออกก�าลงกายไปในตว แต่ด้วยข้อจากดของพนท่ และการเกิดขนของอาคารท่แออัด
้
ี
็
ี
ึ
้
ื
ั
พ้นท่ส่วนใหญ่เป็นถนน และมีรถยนต์ท่ว่งด้วยความเร็ว ท้งยังไม่มีการออกแบบและใช้ทางจักรยานให้ครอบคลุม ยังอาจ
ื
ั
ี
ี
ิ
�
ก่อให้เกิดอันตราย หากผู้ขับข่ยังไม่มีความชานาญ และตามคู่มือมาตรฐานการออกแบบทางจักรยาน 2558 ของสานักอานวย
�
ี
�
�
ี
ี
ความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท กาหนดข้อพิจารณาเพ่มเติม ในบริเวณท่คาดว่ามีผู้ขับข่จักรยานท่เป็นเด็กหรือผู้ม ี
ิ
ี
ประสบการณ์ข่จักรยานน้อย เช่น ทางจักรยานบริเวณโรงเรียน ชุมชน หรือสวนสาธารณะ จะต้องใช้การจัดพ้นท่เฉพาะสาหรับ
�
ี
ื
ี
จักรยานเพ่อแยกทางจักรยานออกจากถนน และในสวนสาธารณะ 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ แห่งน ้ ี
ื
เป็นสวนสาธารณะที่มีผู้ใช้บริการในกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งการออกก�าลัง การพักผ่อนหย่อนใจ การสันทนาการ การท�า
ิ
ึ
ื
ี
กิจกรรมเป็นกลุ่ม รวมถึงการจัดการเร่องเส้นทางสัญจร ซ่งมีการใช้เส้นทางจักรยานร่วมกันกับเส้นทางเดิน-ว่งท่ในปัจจุบัน
เกิดปัญหาบ่อยคร้ง อาทิ ผิวเส้นทางไม่เรียบ ปัญหาในการใช้พ้นท่จักรยานร่วมกันกับคนท่มาว่งออกกาลังกาย เพราะมีช่องทาง
�
ั
ิ
ื
ี
ี
ตัดกันระหว่างเส้นทางเดิน/วิ่งและทางจักรยาน ซึ่งมักท�าให้เกิดอุบัติเหตุอยู่เสมอ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
137 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.