Page 145 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 145
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
จากปัญหาที่ได้กล่าวมา ผู้วิจัยท�าวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางจักรยานในสวนสาธารณะ
ชุมชน: กรณีศึกษาสวน 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาของ
ิ
�
ผู้ใช้บริการเส้นทางจักรยานในสวนสาธารณะให้มีมาตรฐานและร่วมกับเส้นทางเดินว่งได้อย่างกลมกลืนและปลอดภัย โดยคานึงถึง
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะ การให้บริการ การจัดกิจกรรม และการอานวยความสะดวกต่างๆ ของสวนสาธารณะ โดยศึกษา
�
เฉพาะสวนสาธารณะ 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งอยู่ในพื้นที่การเคหะร่มเกล้า เขตลาดกระบัง
�
ี
ื
เพ่อนาผลของการวิจัยมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการดาเนินงานและเพ่อเป็นประโยชน์กับประชาชนท่มาใช้บริการต่อไป
�
ื
พื้นที่ศึกษา สวนสาธารณะ 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ี
�
ื
ื
ด้านเน้อหา เพ่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ ข้อจากัด รูปแบบเส้นทางจักรยานท่ได้มาตรฐาน พฤติกรรมการเข้าถึง
ู้
ู้
ู
ั
ื
่
่
ิ
ทศนคติและความพึงพอใจ ของผใช้เส้นทางจักรยานและผใช้เส้นทางเดิน-วงเพอใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงลักษณะและรปแบบ
้
ิ
เสนทางจกรยานและเสนทางเดน-วงทเหมาะสมในพนทสวนสาธารณะชมชน และชวยสงเสรมความปลอดภยในการใชงานรวมกน
ื
ิ
้
ั
ุ
่
ี
ั
่
่
้
่
ั
ิ
้
่
ี
่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ ข้อจ�ากัด ของเส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน
และการวิ่ง 2) เพื่อศึกษารูปแบบเส้นทางจักรยานที่ได้มาตรฐาน 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเข้าถึงของผู้ใช้เส้นทางฯ 4) เพื่อ
ื
ศึกษาทัศนคติ และความพึงพอใจของผู้ใช้เส้นทางฯ 5) เพ่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงเส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน-ว่ง
ิ
ที่ช่วยส่งเสริมความปลอดภัยในการใช้งานร่วมกัน
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 สวนสาธารณะ
ี
�
สวนสาธารณะระดับชุมชน (Community Park) เป็นสวนสาธารณะท่มีกิจกรรมสาหรับประชาชนทุกวัยในชุมชน
ั
ี
ื
ี
ท้งเด็กและผู้ใหญ่สามารถมาใช้ร่วมกันภายในพ้นท่เดียวกัน และมีกิจกรรมท่หลากหลาย มุ่งท้งประโยชน์สูงสุด ครอบคลุม
ั
ื
่
ี
ื
ิ
พนทให้บริการในรัศม 1-2.5 กิโลเมตร (หรอสามารถเดนทางไปถึงได้โดยระบบขนส่งสาธารณะในเวลาไม่เกิน 30 นาที)
ี
้
ส�าหรับในพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่น ควรลดระยะของรัศมีการให้บริการให้น้อยลงเข้าถึงง่าย โดยอยู่บนถนนสายหลักชุมชน
มีขนาดพื้นที่ 2.5 ไร่/1,000 คน สวนสาธารณะแต่ละแห่งจะมีองค์ประกอบภายในสวนแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเภทขนาด
ื
ี
ั
พ้นท่ และวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างสวนสาธารณะน้น เป็นต้นว่า สวนขนาดเล็กในย่านชุมชนพักอาศัยจะประกอบด้วย
อาคาร สนามเด็กเล่น และสถานที่ออกก�าลังกาย สวนสาธารณะขนาดกลาง หรือสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จะประกอบด้วย
ทางเดิน สถานที่พักผ่อน ลานอเนกประสงค์ อาคาร หรือสถานที่ที่จัดเตรียมส�าหรับกิจกรรมพิเศษเฉพาะด้าน และบริเวณ
ั
้
ื
่
�
้
�
ั
่
ี
่
ทมีลกษณะเฉพาะ เชน บึงนา ลาธาร สวนดอกไม้ขนาดใหญ่ รวมทงส่วนประกอบต่อเนองกับระบบการคมนาคมขนส่งมวลชน
ี
ท่อานวยความสะดวกให้กับผู้ท่ใช้บริการท่อยู่ในระยะไกล แนวความคิดในการกาหนดองค์ประกอบภายในสวนสาธารณะ
�
�
ี
ี
ั
โดยท่วไปจะแบ่งกิจกรรมออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) การพักผ่อนแบบสบายๆ เป็นการผ่อนคลาย (Passive Recreation)
�
2) กิจกรรมท่มีการออกกาลังกาย (Active Recreation) 3) กิจกรรมทางการศึกษา การเรียนรู้ (Education) และมีองค์ประกอบ
ี
พื้นฐานภายในสวนสาธารณะ ดังนี้ ทางเดิน สนามหญ้า ลานกีฬา หรือสถานที่ออกก�าลังกาย ม้านั่ง สระน�้า หรือทางน�้าไหล
หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ที่มีน�้าเป็นส่วนประกอบ อาคารอเนกประสงค์ สัญลักษณ์และเครื่องหมายแสดงทิศทาง ห้องน�้า จุดขาย
ื
�
่
ั
ุ
้
�
เครองดม ไฟฟ้า ทจอดรถ ระบบระบายนาของสวนสาธารณะ แหล่งนาสาหรบบารงรกษาต้นไม้ ป้อมยาม หรอจดตรวจ
ั
ื
ุ
ื
�
้
่
่
�
ี
(เกณฑ์สวนสาธารณะฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2547)
ประเภทกิจกรรมหน่งท่นิยมในสวนสาธารณะด้าน Active Recreation ได้แก่ การข่จักรยาน ซ่งมีสวนสาธารณะ
ี
ี
ึ
ึ
�
ี
เพียงไม่ก่แห่งท่จะมีทางจักรยานให้บริการ และเน่องจากไม่ได้มีการกาหนดมาตรฐานทางจักรยานในสวนสาธารณะไว้ แต่ตาม
ี
ื
ื
มติคณะรัฐมนตรี เม่อวันท่ 19 มกราคม 2559 ได้เห็นชอบในการกาหนดมาตรฐานการออกแบบ และการก่อสร้างทางจักรยาน
ี
�
ในประเทศไทย เพ่อให้ทุกหน่วยงานนาไปอ้างอิงในการก่อสร้างเส้นทางจักรยาน ให้มีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันท้งประเทศ
ื
ั
�
ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ ดังนั้น จึงได้น�ามาตรฐานการออกแบบและก่อสร้างทางจักรยานมาใช้ในสวนสาธารณะ
Vol. 9 138