Page 146 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 146

2.2  ทางจักรยาน
                         ประเภทของทางจักรยาน ตาม AASHTO.1991 อ้างถึงโดยนิคม บุญญานุสิทธิ์ และคณะ โดยทั่วไปมีการจัด
              ประเภทของทางจักรยานออกเป็นหลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับพื้นที่ ประโยชน์ใช้สอย และความปลอดภัย ในที่นี้มีอยู่ 3 ประเภท

              คือ 1) ทางจักรยานท่แยกออกจากทางเดินเท้าหรือทางรถยนต์โดยสมบูรณ์ (Class I Bikeway หรือ Bike Path) คือ ทางจักรยาน
                              ี
              ที่แยกออกจากการจราจรของยานพาหนะอื่นๆ  และทางเดินเท้า  โดยมีพื้นที่โล่งกว้างหรือมีสิ่งกีดขวางกั้นอยู่  เหมาะส�าหรับ
              บริเวณที่มีการใช้จักรยานค่อนข้างถี่และเป็นจ�านวนมาก ข้อดี คือ สามารถจัดบนเส้นทางที่ไม่อยู่ในระบบถนนได้ แต่มีข้อเสีย
              ในเรื่องของการลงทุนก่อสร้างทางจักรยานสูงกว่ารูปแบบอื่น ความกว้างของทางจักรยานที่มีการเดินรถสองทาง (Two-Way)
              ควรมีความกว้างของทางอย่างน้อย 2.40 เมตร แต่ถ้ามีการเดินรถทางเดียว (One-Way) ควรมีความกว้างของทางอย่างน้อย
                                                           ี
                                ั
                                                                                      ี
              1.50 เมตร มีไหล่ทางท้งสองข้างกว้าง 0.60 เมตร ในกรณีท่ทางจักรยานใช้ร่วมกับทางเท้า โดยท่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
              ควรมีความกว้างของทางไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร แต่มีการทาสีหรือท�าสัญลักษณ์ให้มีความแตกต่างระหว่างทางจักรยานและ
              ทางเดินเท้า 2) ทางจักรยานที่แยกออกจากทางเดินหรือทางรถยนต์ในระดับปานกลาง (Class II Bikeway หรือ Bike Lane)
                                ื
                            ี
                                              �
                                   ั
                                                                                     ื
                                                                          ื
                                                                      �
                                                                                       ี
              คือ ทางจักรยานท่มีเคร่องก้น ทาสีตีเส้น ทาขอบซีเมนต์ ติดสัญญาณหรือทาเคร่องหมายแบ่งพ้นท่ออกจากส่วนของการจราจร
                                                                            ี
                                                        ี
              ของรถยนต์บนถนนหรือของคนบนทางเดินเท้า ในกรณีท่ถนนมีความกว้างเพียงพอท่จะจัดให้เป็นทางจักรยานได้ จุดประสงค์หลัก
                ื
              เพ่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการข่รถจักรยาน สามารถคาดการณ์การเคล่อนท่ของผู้ข่จักรยานและผู้ขับรถยนต์ได้
                                                                                   ี
                                                                               ื
                                                                                        ี
                                                  ี
              เพ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ข่จักรยานบนถนนท่มีรถยนต์จานวนมากได้ ลงทุนน้อยกว่าแบบ Bike Path ความกว้างของทางจักรยาน
                                                        �
                                                ี
                ิ
                                   ี
              ส�าหรับ Bike Lane ควรมีความกว้างอย่างน้อย 1.20 เมตร-1.50 เมตร 3) ทางจักรยานที่ใช้เส้นทางร่วมกับทางเดินเท้าและ
              ทางรถยนต์ (Class III Bikeway หรือ Bike Route) คือ ทางจักรยานที่ก�าหนดให้มีเครื่องหมาย หรือทาสี เพื่อบอกให้ทราบ
                       ี
              ถึงบริเวณท่จัดเป็นทางจักรยานเป็นการใช้ทางจักรยานร่วมกับการจราจรประเภทอ่น อันได้แก่รถยนต์และคนเดินเท้า แต่ถนน
                                                                            ื
                                       ี
                ี
                                                          ี
                                                                          ี
              ท่จะจัดให้มีทางจักรยานประเภทน้ต้องมีความกว้างมากพอท่จะให้รถจักรยานมาข่ร่วมด้วย ความกว้างของทางจักรยานประเภทน ้ ี
              ไม่มีก�าหนดที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
                      2.3  ทางวิ่ง
                                                                                                   ี
                                                                            �
                                                                        ี
                                                                                                ิ
                                                                                                         �
                                                                                        ั
                                                                                             ี
                         การเดินหรือการว่ง เป็นกิจกรรมทางร่างกาย และเป็นกิจกรรมท่แนะนาสาหรับบุคคลท่วไปท่คิดเร่มท่จะออกกาลัง
                                                                              �
                                      ิ
              เพราะไม่ตองผ่านการฝึกฝน หรือต้องมีอุปกรณอะไรเปนพิเศษ ทั้งยังมีความปลอดภัยสูงและสามารถท�าไดทุกที่ทุกเวลา
                                                        ็
                                                  ์
                                                                                               ้
                      ้
                         มาตรฐานความกว้างของช่องทางเดิน (ทรรศชล ปัญญาทรง, 2551 อ้างถึงใน ปรีชญะ โรจน์ฤดาทร) จากขนาด
                                                                          ั
                                               ี
                                                                                                 ี
              ตัวเลขของร่างกายมนุษย์ในการใช้ทางเท้า ท่ว่า 1 คนใช้ทางเท้า 0.60 เมตร ฉะน้น ทางเท้าควรกว้างอย่างน้อยท่สุด 1.20 เมตร
                                                                        ั
              ในกรณีเดินสวนกัน  ขนาดทางเท้ายังข้นอยู่กับปริมาณผู้สัญจรในเส้นทางน้นด้วย  และในคู่มือขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา
                                            ึ
              ของการกีฬาแห่งประเทศไทย  ก�าหนดมาตรฐานของสนามกรีฑา  400  เมตร  คือสนามที่มีทางวิ่งเป็นวงรอบ  ประกอบด้วย
              ทางวิ่งที่เป็นทางตรงและทางโค้ง  ครบหนึ่งรอบจะได้ระยะทาง  400  เมตรพอดี  ในทางสากลเรียกทางวิ่งนั้นว่า  ลู่วิ่ง  และมี
              เขตที่แบ่งย่อยจากลู่วิ่ง  ออกเป็นช่องวิ่ง  มีจ�านวน  8  ช่องวิ่ง  มีความกว้างช่องวิ่งละ  1.22  เมตร  โดยมีเส้นของช่องวิ่งกว้าง
              5 เซนติเมตร ขีดกั้น
                                                                                       ื
                                                                          �
                                                                                                      ี
                                                                                                   ื
                             ั
                                                                                                        ั
                         ดังน้น จึงสรุปความหมายของคาว่า “ทางว่ง” คือ แนวหรือพ้นท่สาหรับใช้สัญจร เพ่อให้ร่างกายเคล่อนท่ ท้งการ
                                                 �
                                                                      ื
                                                                        ี
                                                         ิ
              เคลื่อนที่ไปอย่างช้าๆ หรือเคลื่อนที่ไปโดยเร็ว โดยอาจมีความกว้างของช่องวิ่งตามมาตรฐาน อย่างน้อย 1.22 เมตร
              3. วิธีการวิจัย
                      งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงส�ารวจ  (Survey  Research)  อาศัยการส�ารวจ  และการใช้แบบสอบถาม  เป็นเครื่องมือ
                                                                                                          ู
                                                                                             ิ
                                                                                               ี
                                                                                             ่
                                                                                                    ิ
                                                                                                        ั
                                                                                               ่
                                       ิ
                                           ่
                                           ี
                                      ู
              ในการเกบรวบรวมข้อมลปฐมภม  เกยวกบลกษณะทางกายภาพของเส้นทางจกรยานและเส้นทางเดน-วงทให้บรการกบผ้ใช้
                     ็
                                ู
                                                                          ั
                                                                                          ิ
                                                ั
                                              ั
              สวนสาธารณะ พฤติกรรมของผู้ใช้บริการในการเข้าถึง และทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ เพ่อเป็นแนวทางการปรับปรุง
                                                                                         ื
              เส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน-วิ่งที่ได้มาตรฐาน และสามารถใช้งานร่วมกันอย่างปลอดภัยต่อไป
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            139   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151