Page 172 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 172

-  ความคิดเห็นต่อปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการเข้าใช้พื้นที่ มีปัญหา มากสุด 382 คน คิดเป็น ร้อยละ 95.50
                                                                                                          ี
                                                                                     ื
                                                                      ี
                                                                                               ี
                                                                                        ี
                                                  �
              ไม่มีปัญหา 18 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.50 ตามลาดับ โดยปัญหาอุปสรรคท่ส่งผลต่อการเข้าใช้พ้นท่ บริเวณท่จอดรถ มากท่สุด
              321 คน คิดเป็น ร้อยละ 43.20 รองลงมา การบ�ารุงรักษา 181 คน คิดเป็น ร้อยละ 24.36 ตามล�าดับ
                         -  สาเหตุท่ทาให้เกิดปัญหาอุปสรรคท่ส่งผลต่อการเข้าใช้พ้นท่ การฝ่าฝืนกฎ/ข้อบังคับ มากท่สุด 297 คน คิดเป็น
                                                                      ี
                                                                    ื
                                                                                             ี
                                   �
                                                     ี
                                 ี
              ร้อยละ 36.89 รองลงมา การขาดบุคลากรมาดูแล 220 คน คิดเป็น ร้อยละ 27.33 ตามล�าดับ
                         -  อันดับความต้องการให้สวนสาธารณะพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวกและการให้บริการ อันดับหนึ่ง มากที่สุด
              คือ ห้องน�้า/ห้องสุขา มากสุด 292 คน คิดเป็น ร้อยละ 76.84 อันดับสอง มากสุด คือ เก้าอี้นั่งพักผ่อน มากสุด 156 คน
              คิดเป็น ร้อยละ 88.14 ตามล�าดับ
                         -  การวิเคราะห์ความต้องการการพัฒนาสวนสาธารณะเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตต่อการด�ารงชีวิต  ปัจจัยที่มีผลต่อ
                                      ิ
                                   ื
              การพัฒนาสวนสาธารณะเพ่อเพ่มคุณภาพชีวิตต่อการดารงชีวิตความคิดเห็นต่อการใช้บริการสวนสาธารณะจะส่งผลต่อตนเอง
                                                        �
                                                                                               ึ
                                  ี
                                                               ิ
                                                                                 �
                                                                                                     ี
                                                            ื
              ผลวิเคราะห์อันดับปัจจัยท่มีผลต่อการพัฒนาสวนสาธารณะเพ่อเพ่มคุณภาพชีวิตต่อการดารงชีวิต อันดับหน่ง มากท่สุด ขนาด
                                                             ื
              352 คน คิดเป็น ร้อยละ 88.00 อันดับสอง มากสุด ความร่มร่น/ความสะอาด/ความปลอดภัย 340 คน คิดเป็น ร้อยละ 85.00
              อันดับสาม มากสุด อุปกรณ์อ�านวยความสะดวกครบครัน 201 คน คิดเป็น ร้อยละ 50.25 อันดับสี่ มากสุด ต�าแหน่งที่ตั้ง
              ใกล้ชุมชน 218 คน คิดเป็น ร้อยละ 54.50 และ อันดับห้า มากสุด การเข้าถึง 367 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.75
                         -  ผลวิเคราะห์อันดับความคิดเห็นต่อการใช้บริการสวนสาธารณะจะส่งผลต่อตนเอง  ในระดับมากสูงสุด  คือ
              ด้านจิตใจ  เช่น  รู้สึกสนุกสนานมากขึ้น  มีสมาธิขึ้น  รู้สึกพึงพอใจตัวเองมากขึ้น  เป็นต้น  208  คน  คิดเป็น  ร้อยละ  52.00
              ในระดับปานกลางสูงสุด  คือ  ด้านร่างกาย  เช่น  รู้สึกร่างกายแข็งแรง  กระฉับกระเฉง  นอนหลับง่ายขึ้น  เป็นต้น  208  คน
              คิดเป็น ร้อยละ 52.00 ในระดับน้อยสูงสุด คือ ด้านสังคม เช่น ได้พบปะผู้คนมากขึ้น ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากขึ้น เป็นต้น
              352 คน คิดเป็น ร้อยละ 88.00 ตามล�าดับ

                         -  หน่วยงานที่พัฒนาสวนสาธารณะ  หน่วยงานราชการ  มากสุด  385  คน  คิดเป็น  ร้อยละ  87.90  และด้าน
              ความต้องการภายในสวนสาธารณะที่จอดรถส�าหรับผู้สูงอายุ มากสุด 358 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.21


              5. สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ


                      5.1  สรุปผลการศึกษาวิจัยและอภิปรายผล สรุปเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้
                                                          ี
                         1. กายภาพ  ประชากรผู้สูงอายุส่วนมากท่เข้ามาใช้บริการสวนสาธารณะเป็นเพศหญิง  (55.75%)  เพศชาย
              (44.25%) ด้านอาย ส่วนมากช่วงอายุระหว่าง 60-65 ปี มากที่สุด (60.75%) รองลง อายุ 66-70 ปี (31.25%) ตามล�าดับ

              และอาชีพที่เข้ามาใช้บริการ มากที่สุด คือ อาชีพข้าราชการบ�านาญ (40.75%) รองลงมา คือ พ่อบ้าน/แม่บ้าน (31%)

                         2. พฤติกรรม กิจกรรมที่ท�า มากที่สุด เต้นแอโรบิค (34.25%) รองลงมา คือ เดินเล่น (27.25%) ความถี่ที่
              เข้ามาใช้บริการในสวนสาธารณะ มากที่สุด ทุกวัน (40.754%) รองลงมาอาทิตย์ละ 3-4 ครั้ง (10.75%) และช่วงเวลาที่มา
              ใช้บริการ  มากที่สุด  ช่วงเวลา  17.01-20.00  (87.87%)  และใช้ระยะเวลาอยู่ในสวนมากที่สุด  30  นาที-1ชั่วโมง  (49.75%)
              โดยใช้ระยะเวลาเดินทางมาใช้บริการ ไม่เกิน 10 นาที (44.75%) ใช้วิธีเดินจากบ้านมาสวนธารณะ มากที่สุด (63%)

                      5.2  ข้อเสนอแนะ

                         1. ห้องน�้าผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ควรค�านึง ประตูห้องน�้าควรกว้างอย่างน้อย 90 เซนติเมตร เพื่อความสะดวกของ
                                                                           ้
                                                                           �
                      ี
                                      �
                                      ้
              ผู้สูงอายุท่ใช้รถเข็นประตูห้องนาควรเป็นบานเล่อนหรือบานเปิดออกนอกห้องนา  หากผู้สูงอายุล้มสามารถเข้าไปช่วยเหลือ
                                                   ื
                                                                                          ื
              ผู้สูงอายุได้ ในกรณีท่ผู้สูงอายุล้มและนอนขวางอยู่บริเวณหน้าประตูควรใช้มือจับประตูแบบก้านโยก เพ่อสะดวกในการ เปิด-ปิด
                              ี
                                                       ั
                                                                      ้
              โดยไม่ต้องใช้แรงข้อมือในการบิดหมุนแบบประตูลูกบิดท่วไปพ้นท่ภายในห้องนาควรมีขนาดกว้าง x ยาว อย่างน้อย 1.65*2.75 เมตร
                                                           ื
                                                             ี
                                                                      �
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            165   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177