Page 177 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 177
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
1. บทน�า
ในปัจจุบันภาวะโลกร้อนสร้างผลกระทบแก่ชีวิตของผู้คน การสร้างสภาพแวดล้อมท่ส่งเสริมการตระหนักถึงการ
ี
อนุรกษ์พลังงาน และการรักษาสงแวดล้อมจึงจาเป็นในสภาวการณ์ท่ปัญหาด้านพลงงานและสงแวดล้อมทวความรนแรง
ี
�
ั
ั
ิ
่
ิ
่
ุ
ี
ส่งผลกระทบในวงกว้าง การพัฒนาห้องสมุดให้เป็นต้นแบบของสังคมในเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่อง
ที่มีความส�าคัญ (ส�านักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559, หน้า 1) งานวิจัยนี้เสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ
ี
ี
การประหยัดพลังงานแก่ห้องสมุดท่เป็นกรณีศึกษาเพ่อการอนุรักษ์พลังงาน ห้องสมุดกรณีศึกษาแห่งน้มีการออกแบบสภาพแวดล้อม
ื
ั
ู
ิ
ั
ี
่
�
ั
ุ
ภายในทสร้างแรงบนดาลใจและความคดสร้างสรรค์แก่ผ้มาเข้าใช้ในการรกษาสงแวดล้อมและอนรกษ์พลงงานมการนาวสด ุ
ี
ั
ั
ิ
่
รีไซเคิลมาออกแบบตกแต่ง ถึงแม้ว่าห้องสมุดได้ออกแบบสภาพแวดล้อมด้วยแนวคิดดังกล่าวแต่ก็ยังไม่มีการประเมินด้าน
ความพึงพอใจของผู้ใช้ห้องสมุดในด้านอุณหภูมิ แสงสว่าง และการใช้พื้นที่ จึงมีความจ�าเป็นที่ผู้วิจัยน�ากระบวนการประเมิน
อาคารหลังการเข้าใช้ (Post Occupancy Evaluation) มาใช้เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน
การพัฒนาอาคารให้มีประสิทธิภาพประหยัดพลังงานมีความสาคัญต่อสภาวการณ์ปัจจุบัน และยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
�
ิ
การวิจัยรายประเด็นด้านพลังงานทดแทนซ่งมียุทธศาสตร์ในการเพ่มประสิทธิภาพพลังงาน และการอนุรักษ์ส่งแวดล้อม
ิ
ึ
ี
มีเป้าประสงค์ท่ต้องการพัฒนาอาคารประหยัดพลังงาน (สภาวิจัยแห่งชาติ, 2555) จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรม
ิ
ั
�
เกณฑ์การประเมินความย่งยืนทางพลังงานและส่งแวดล้อมไทยสาหรับอาคารระหว่างใช้งาน TREES-EB (สถาบันอาคาร
�
ี
เขียวไทย, 2555) ซ่งเป็นเกณฑ์อ้างอิงในการออกแบบห้องสมุดสีเขียวสาหรับอาคารท่มีการเปิดใช้งานแล้ว ผู้วิจัยจึงนาเกณฑ์น ้ ี
�
ึ
มาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพประหยัดพลังงานในห้องสมุดมหาวิทยาลัย
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ี
การวิจัยน้มีวัตถุประสงค์เพ่อศึกษาแนวทางการประหยัดพลังงานในห้องสมุดมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานครจานวน
�
ื
ื
ี
1 แห่ง ภายในส่วนส่งเสริมการประหยัดพลังงานโดยศึกษาด้านอุณหภูมิ แสงสว่าง และการใช้พ้นท่ โดยใช้กระบวนการประเมิน
สภาพแวดล้อมภายในอาคารหลังการเข้าใช้
3. การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
หลักการออกแบบห้องสมุดสีเขียวอ้างอิงจาก เกณฑ์การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ข้อกาหนด แนวทางเชิงปฏิบัต ิ
�
และ วิธีการตรวจประเมิน พ.ศ. 2559 ประกอบไปด้วยปัจจัยด้านโครงสร้างอาคาร อุณหภูมิ และแสงสว่างที่มีประสิทธิภาพ
(สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559) จากงานวิจัยท่ศึกษาเก่ยวกับการเปรียบเทียบส่วนประกอบอาคารประเภท
ี
ี
�
�
�
สานักงานเฉพาะกรณี โดยการใช้โปรแกรมคานวณการประหยัดพลังงาน EcoCalculator for Building Assemblies (AI 2009a)
่
ี
ระหวางอาคารเกา และอาคารรอถอนสรางใหมพบวาผลกระทบดานสภาพแวดลอมสามารถหลกเลยงด้วยการรกษาอาคารเดม
่
่
ั
้
่
ื
ิ
้
้
้
ี
่
ื
ี
แทนท่การร้อถอนแล้วสร้างอาคารใหม่ในด้านของการอนุรักษ์พลังงาน (Lucuik, Trusty, Haffman and Prefasi, 2010)
ี
ื
หลักการสาคัญในการออกแบบอาคารเก่ามีแนวทางเชิงปฏิบัติ ดังน้ 1) ปรับปรุงโครงสร้างอาคารและวัสดุประกอบอาคารให้เอ้อ
�
ต่อการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 2) ปรับปรุงระบบปรับอากาศให้มีประสิทธิภาพ 3) ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ที่ประหยัดพลังงาน (ส�านักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559)
จากการสังเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องระหว่างเกณฑ์การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว และเกณฑ์การประเมินความยั่งยืน
ิ
ิ
ทางพลังงานและส่งแวดล้อมไทยสาหรับอาคารระหว่างใช้งาน (สถาบันอาคารเขียวไทย, 2555) ในประเด็นท่เก่ยวข้องในการเพ่ม
�
ี
ี
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานสภาพแวดล้อมภายในห้องสมุดพบว่ามี 3 ประเด็นหลักที่สอดคล้องกัน คือ ด้านอุณหภูมิ
ด้านแสงสว่าง และด้านการใช้พื้นที่
Vol. 9 170