Page 247 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 247

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







             ชุมชนมีการพัฒนาเพ่อรองรับการท่องเท่ยวมากท่สุดในสามพ้นท่แม้ยังคงอยู่ในระดับชุมชน  และชุมชนมีความต้องการและ
                                                            ื
                                                              ี
                                                   ี
                                            ี
                             ื
                                                                        ิ
                                                                          �
                                                                                          �
                                               ี
                                                                  ้
                                                                  �
             แนวทางในการพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์ท่ชัดเจนบริเวณแหล่งพุนาร้อนมีส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้มาเยือน  เช่น
             ศาลาที่นั่งพัก  ที่จอดรถ  จุดต้มไข่และหน่อไม้  และราวรั้วกั้นต่างๆ  พร้อมทั้งมีบริการห้องอาบน�้า  แช่เท้า  นวดแผนโบราณ
                                                                                                 ื
                    �
                                                                                                    ี
                                                                                ี
             บ่อเล่นนา ร้านขายอาหารและกาแฟสด แสดงให้เห็นศักยภาพในการจัดรูปแบบการท่องเท่ยวเชิงสุขภาพ คนในพ้นท่มีวิถีชีวิต
                    ้
                            ้
                            �
                                               �
                                               ้
             ใกล้ชิดกับแหล่งพุนาร้อน  มีการใช้แหล่งพุนาร้อนในการอาบและชาระล้างส่งต่างๆ  เช่น  เส้อผ้า  อุปกรณ์ทาอาหาร  โดยม  ี
                                                                      ิ
                                                                                   ื
                                                               �
                                                                                               �
             การจัดสรรเป็นเวลา  และมีการใช้แหล่งพุนาร้อนในการประกอบอาหารเช่นการต้มหน่อไม้หรือการต้มไข่  แต่จากคาบอกเล่า
                                              ้
                                                                                                   �
                                              �
                                                                                    ี
             การประกอบอาหารดังกล่าวส่วนใหญ่กระทาโดยคนจากนอกชุมชน อย่างไรก็ตาม กิจกรรมเหล่าน้แสดงให้เห็นคุณลักษณะพิเศษ
                                            �
                                    ื
                                                      �
             ทางวัฒนธรรม ในวิถีชีวิตด้านอ่นๆ ภายในชุมชนมีการทาการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการปลูกพืชผักสวนครัว
             และการเล้ยงสัตว์ในครัวเรือนโดยผลผลิตมีท้งส่วนท่ใช้ในครัวเรือนและส่วนท่รวบรวมส่งขาย  วิถีชีวิตด้านน้เป็นภาพลักษณ์
                                                                       ี
                                                                                              ี
                                               ั
                                                    ี
                     ี
                                       ี
                                                                                   ี
                                                            ี
                                                                                               ื
                 �
              ี
             ท่ผู้นาชุมชนต้องการน�าเสนอมากท่สุด รวมถึงเป็นคุณลักษณะท่ส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเท่ยวเชิงสุขภาพเน่องจากเป็นการ
             เพาะปลูกและบริโภคแบบปลอดสารพิษ จึงสรุปภาพลักษณ์รวมของชุมชนได้ว่าเป็นชุมชนเกษตรพึ่งพาตนเอง
                         รูปที่ 3 ตารางแสดงส่วนประกอบภาพลักษณ์ของพื้นที่กรณีศึกษาแหล่งพุน�้าร้อนดอยสะเก็ด
                                                    ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
                        4.2.2  แหล่งพุน�้าร้อนโป่งปูเฟือง ต�าบลแม่สรวย อ�าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งพุน�้าร้อนในพื้นที่
             ธรรมชาติดัดแปลง (Roaded Natural-Modified, RN-M) เน่องจากห่างจากชุมชนไม่มากและมีการใช้ประโยชน์โดยคนในชุมชน
                                                         ื
             แต่ในระดับที่จ�ากัดกว่าพุน�้าร้อนดอยสะเก็ด  ในภาพรวม  พื้นที่ต�าบลแม่สรวยเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีถนนเส้นหลักตัดผ่าน
             ชุมชนศูนย์กลางมีการพัฒนาทัดเทียมเขตเมือง และในพื้นที่มีความหลากหลายทั้งทางธรรมชาติและวัฒนธรรม แต่เนื่องจาก
             พื้นที่ส่วนใหญ่รวมถึงแหล่งพุน�้าร้อนตั้งอยู่ระหว่างบริเวณระหว่างแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ เช่น ดอยช้าง ตัวเมืองเชียงราย
                                                    �
                                                                                  ั
                                     ี
                                                                                       ี
             เป็นต้น อาจทาให้สถานท่ท่องเท่ยวอ่นๆ ในบริเวณตาบลแม่สรวยลดความน่าสนใจลง พร้อมท้งพ้นท่ดังกล่าวยังไม่มีการพัฒนา
                                ี
                       �
                                                                                     ื
                                        ื
                                                        �
                                                        ้
                                                                                �
                             ี
             เพ่อรองรับการท่องเท่ยวเท่าท่ควร ในส่วนบริเวณแหล่งพุนาร้อนโป่งปูเฟืองมีอาคารและส่งอานวยความสะดวก เช่น ถนนทางเข้า
                                   ี
                                                                              ิ
               ื
             ศาลาที่พัก บ่อต้มไข่และหน่อไม้ อาคารส�าหรับกิจการ แต่ส่วนใหญ่ไม่มีการใช้งาน อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่าพื้นที่
                                                                      ี
             ตาบลแม่สรวยมีกิจการในพ้นท่ๆ น่าสนใจ เช่น สวนสมุนไพร่ในป่าบนภูเขาท่บริหารจัดการโดยสมาคมผู้สูงอายุและผู้ท่มีความร ู้
                                    ี
                                 ื
                                                                                                    ี
              �
             ในการต้มยาสมุนไพร แหล่งพุน�้าร้อนมีการใช้งานโดยคนในพื้นที่ เช่น การต้มหน่อไม้ แสดงให้เห็นการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
             และการรักษาสุขภาพ ในพื้นที่ยังมีการท�าการเกษตรที่น่าสนใจหลายอย่าง เช่น สวนพุทราที่คนนอกสามารถเข้าเยี่ยมชมได้
                  ื
                                                     ี
                     ี
                                                                     ั
                                                                        ื
             ทาให้พ้นท่มีศักยภาพในการสร้างภาพลักษณ์การท่องเท่ยวเชิงนิเวศ นอกจากน้นพ้นท่แม่สรวยยังมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
              �
                                                                          ี
                            �
                     ั
             และเป็นท่ต้งของวัดสาคัญต่างๆ เช่น วัดพระธาตุจอมแจ้ง และวัดแสงแก้วโพธิญาณท่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีชุมชนกลุ่มชาติพันธ ุ์
                                                                           ี
                    ี
             ที่หลากหลาย  เช่น  ชุมชนชาวอาข่าและชุมชนชาวลาหู่  แม้ยังไม่มีการน�าทุนวัฒนธรรมมาใช้ในเชิงการท่องเที่ยวแต่สามารถ
                                           ี
                                                                 ื
             แสดงถึงศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเท่ยวเชิงวัฒนธรรม จึงสรุปได้ว่าพ้นท่อาจไม่ถือว่าเป็นแหล่งท่องเท่ยวชัดเจน แต่คุณลักษณะ
                                                                                        ี
                                                                    ี
             ต่างๆ ในพื้นที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่พักเยี่ยมชมระหว่างการเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวหลักได้ ภาพลักษณ์
             รวมจึงควรเน้นเป็นจุดพักระหว่างทางเชื่อมต่อไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ
             Vol. 9                                       240
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252