Page 86 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 86
1. ผู้วิจัยได้เคยท�าการออกแบบตกแต่งภายในทาวน์โฮมของโครงการนี้
2. ผู้วิจัยได้มีความคุ้นชินกับเจ้าของโครงการ จึงสะดวกต่อการเข้าใช้สถานที่ และสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล
3. ผู้วิจัยเคยท�างานในฐานะนักออกแบบให้กับโครงการ มงคล วิลเลจ เป็นระยะเวลาประมาณ 6 เดือน จึงท�าให้มี
ความคุ้นชินกับสภาพแวดล้อมของจังหวัดมหาสารคาม
4. สถานที่ตั้งโครงการเป็นไปในทางเดียวกันกับการขยายตัวของเมือง
ี
ี
ในการวิจัยคร้งน้มีผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน 13 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่มดังน้ กลุ่มท่ 1 คือ กลุ่มผู้ท่ต้องการซ้อทาวน์โฮม
ี
�
ั
�
ี
ื
เพื่อปล่อยเช่าจ�านวน 3 คน อายุระหว่าง 35-65 ปี กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มผู้ที่ต้องการซื้อทาวน์โฮมเพื่ออยู่อาศัยจ�านวน 5 คน
อายุระหว่าง 25-35 ปี กลุ่มที่ 3 คือ กลุ่มที่ต้องการเช่าอยู่อาศัยจ�านวน 5 คน อายุระหว่าง 20-25 ปี ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะใช้
นามสมมุติ A–E อาชีพของผู้ให้ข้อมูลประกอบไปด้วย ข้าราชการ เภสัชกร ธุรกิจส่วนตัว สถาปนิก ข้าราชการเกษียณ
นักศึกษา โดยมีขั้นตอนในการด�าเนินการวิจัยประกอบไปด้วยขั้นตอนดังนี้
1. ข้นเตรียมการ โดยการติดต่อผ้ให้ข้อมูลสาคญคนทหน่งและให้ผู้ให้ข้อมูลคนท่หน่งแนะนาผ้ให้ข้อมูลคนถัดไป
�
�
ั
ี
่
ั
ึ
ู
ู
ี
ึ
�
�
ื
ั
หลังจากทาการนัดวันและเวลาผู้ให้ข้อมูลครบท้งหมดแล้ว จึงดาเนินการขออนุญาตเจ้าของโครงการมงคล วิลเลจ เพ่อขอเข้าใช้
�
สถานท่บ้านทาวน์โฮมตัวอย่างในการดาเนินการเก็บข้อมูลตามวันเวลาท่กาหนด และจัดเตรียมเคร่องมือเพ่อช่วยในการเก็บข้อมูล
ี
ื
ื
ี
�
ได้แก่ เครื่องบันทึกเสียง กล้องถ่ายภาพ สมุดเปล่า
ื
ั
2. ข้นตอนการออกแบบเคร่องมือ เป็นข้นตอนในการพัฒนาแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และผังพฤติกรรม
ั
ี
ี
�
�
ี
ื
�
ึ
ซ่งในแบบสัมภาษณ์จะเน้นไปท่ประเด็นคาถามท่ประกอบไปด้วย วิถีการดาเนินชีวิต ตาแหน่งของพ้นท่ใช้สอย และขนาดของ
พื้นที่ใช้สอย และใช้ผังพฤติกรรมในการบ่งชี้ถึงการใช้งานของพื้นที่ใช้สอยส่วนต่างในชีวิตประจ�าวัน
3. ขั้นตอนในการเก็บข้อมูลภาคสนาม เป็นการลงพื้นที่ภายในบ้านทาวน์โฮมตัวอย่างของโครงการ มงคล วิลเลจ
้
ั
โดยการเชญผใหขอมลเขามาสมผสและใชงานกบพนทใชสอยภายในทาวนโฮมจรง (บ้านตวอยาง) ตอจากนนทาการใหผใหขอมล
ี
้
้
ู
ั
์
ิ
่
้
ิ
่
่
ั
้
ู
้
ั
ู
้
้
้
�
ู
ื
้
้
ั
้
เดินชมและลองใช้งานพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านทาวน์โฮม ในขณะที่ผู้ให้ข้อมูลเดินชมภายในบ้านทาวน์โฮม ผู้วิจัย จะท�าการ
สังเกตการณ์ ถ่ายภาพ บันทึกเสียง จดบันทึก และสัมภาษณ์เล็กน้อย ถ้าผู้ให้ข้อมูลสนใจพื้นที่ใช้สอยใดเป็นพิเศษ หลังจาก
การเดินชมเสร็จสิ้น ผู้วิจัยจะเชิญผู้ให้ข้อมูลนั่งพูดคุยต่อซึ่งจะยังคงใช้พื้นที่ภายในบ้านในการสนทนาในขั้นตอนนี้ ผู้วิจัยจะใช้
เคร่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง เคร่องบันทึกเสียง สมุดจด และผังพฤติกรรม โดยใช้การพูดคุย
ื
ื
และผู้วิจัยจะท�าการจดบันทึกข้อมูลที่ส�าคัญลงในสมุดจดบันทึก และผังพฤติกรรม
4. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล โดยน�าข้อมูลที่ได้มาท�าการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ได้แก่ ภาพถ่าย
ข้อมูล พฤติกรรมการใช้งานจากผังพฤติกรรม ข้อมูลจากการจดบันทึก ข้อมูลจากการบันทึกเสียง
5. ขั้นตอนการแปรผล เป็นการน�าเอาข้อมูลจากการแบ่งหมวดหมู่ มาตีความโดยมุ่งเน้นไปที่ผังพื้นและการใช้งาน
ของพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านทาวน์โฮม
4. ผลการวิจัย
ั
ี
�
ี
การวิเคราะห์ผลของตาแหน่งและขนาดพื้นท่ใช้สอยจะแบ่งเป็น 4 ส่วน ดังน้ ห้องน่งเล่น ห้องครัวรวมห้องรับประทาน
ิ
้
้
้
ู
่
่
ุ
่
่
่
�
ึ
้
ิ
อาหาร หองนอน และหองนา ซงในแตละสวนจะวเคราะหดวยระดบความพงพอใจจากคยเวรดสาคญของผใหขอมลในแตละกลม
�
์
ี
้
์
ึ
ู
้
้
์
ั
ั
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
79 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.