Page 91 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 91
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
4.4 ห้องน�้า
ตารางที่ 7 ตารางวิเคราะห์ความพึงพอใจต�าแหน่งของห้องน�้า
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
นามสมมติ กลุ่มผู้ที่ซื้อเพื่อปล่อยเช่า กลุ่มที่ซื้อเพื่ออยู่อาศัย กลุ่มที่เช่าอยู่
A ไม่มีความคิดเห็น “หลายห้อง” “เยอะดี”
B “สะดวก” “เยอะดี” “หลายจุด”
C “ใช้ง่าย” “ส่วนตัวดี” “เข้าง่าย”
D - “มากดีกว่าน้อย” “แบ่งเข้าได้”
E - “แยกก็ดี” “สะดวก”
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
ี
�
�
จากการวิเคราะห์พบว่าตาแหน่งของห้องนาอยู่ในตาแหน่งท่ค่อนข้างเหมาะสม และมีจานวนเยอะกว่าบ้านทาวน์โฮม
้
�
�
ของโครงการอื่น ท�าให้เข้าใช้งานได้อย่างสะดวกโดยไม่ต้องรอกัน เช่น ห้องน�้าขั้น 1 ที่อยู่กลางบ้าน ท�าให้คนที่อยู่หลังบ้าน
และหน้าบ้านไม่ต้องเดินไกลมากนัก ส่วนชั้นสองที่มีห้องน�้า 2 ห้อง ท�าให้ผู้ที่อยู่ในห้องนอนใหญ่สามารถใช้งานได้อย่างเป็น
ส่วนตัว โดยที่ห้องนอนเล็กยังสามารถใช้งานได้อย่างสะดวก และผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เห็นไปในทางเดียวกันว่าห้องน�้าเยอะดี
ี
้
่
ื
่
ี
้
้
่
่
ี
ื
้
ู
่
ู
ุ
ื
่
เผอมีแขกหรอเพอนฝูงทมาไกลมานอนทบ้าน ยังสามารถใชไดอย่างเพยงพอและไม่รบกวนเจ้าของบ้าน เชน ผใหข้อมลกลมซ้อ
ื
เพื่ออยู่อาศัยคนหนึ่งกล่าวว่า “ห้องน�้าเยอะสิดี เผื่อเพื่อนมาเยอะ ญาติมาเยอะจะได้ไม่ต้องแย่งกัน”
ตารางที่ 8 ตารางวิเคราะห์ความพึงพอใจขนาดของห้องน�้า
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
นามสมมติ กลุ่มผู้ที่ซื้อเพื่อปล่อยเช่า กลุ่มที่ซื้อเพื่ออยู่อาศัย กลุ่มที่เช่าอยู่
A “พอดี” “ดูเตี้ย” “เยอะไว้ก่อน”
B “แคบ” “ใช้งานได้” “พอได้”
C “อึดอัดไปนิด” “ดูเล็ก” “พอดี”
D - “พอใช้ได้” “พอดี”
E - “แคบ” “ใช้ได้แล้ว”
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
จากการวิเคราะห์พบว่าขนาดของห้องน�้า มีขนาดที่ค่อนข้างเล็กแต่ยังสามารถใช้งานได้ดี เนื่องจากการที่มีห้องน�้า
้
เยอะกว่าบ้านทาวน์โฮมอ่น จึงทาให้ต้องเฉล่ยห้องนากัน แต่ส่วนใหญ่ยังมีความพึงพอใจเม่อเทียบกับการท่มีห้องนาเยอะดีกว่า
้
�
ื
ี
�
ี
ื
�
การมีห้องน�้าน้อย
Vol. 9 84