Page 13 - The 10th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 13
ิ
่
้
ู
ิ
ู
ํ
่
ี
ั
ั
จากการศึกษา สามารถอธบายลักษณะการตงถนฐานและการกอรปทอยอาศยของชาวมอแกน โดยจาแนกตาม
ั
ชวงเวลาออกเปน 3 ชวง ดงรายละเอียดตอไปน ี ้
ิ
่
ั
ี
ิ
ี
่
่
ิ
ิ
ึ
ิ
ชวงท 1 ชวงวถชีวตเรรอนทางทะเล เปนชวงทมการตังถนฐานชวคราวอยู ณ บรเวณใดบรเวณหนงในชวงเวลา
ี
่
ี
้
่
ึ
้
ื
ั
ู
้
ู
ิ
ั
่
ี
่
ู
สัน ๆ ลักษณะการตังถนฐานและการกอรปทอยอาศยขนอยกบอิทธิพลของลมมรสุมกลาวคอ ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
้
่
่
ู
ั
ิ
ั
ั
้
ชาวมอแกนใชเรือดงเดิม เรียกวา “กาบาง” เปนพาหนะทใชในการเดินทางไปยงแหลงอาหารตาง ๆ และทีอยอาศยของสมาชก
ี
ี
ั
ั
้
่
ี
่
ั
ี
็
ู
ครอบครวเดยว ประกอบดวย พอ แม และลูก ๆ หรอบางครงกมญาติพนองรวมอาศยอยดวย ประมาณ 5-7 คน ชาวมอแกนใช
ื
่
ํ
ี
ู
้
ึ
ู
ี
ิ
ั
ชวตสวนใหญอาศยอยในกาบาง จงมภมิปญญาในการสรางเรือ นามาสูการกอรปและการจดพนทใชสอยภายในเรอทม ี
ื
ี
ู
่
ื
ี
ั
็
่
ี
ุ
ื
ิ
ิ
ํ
่
้
ื
ลักษณะเฉพาะ คอ มีลักษณะเปนเรือขดเสริมกราบดวยไมระกา เปนการเสรมความแขงแรงและเพมพนทใชสอย โดยเลือกใช
ั
ี
ํ
้
ั
ื
ี
่
ี
วสดุทมความทนทาน แตมีนาหนกเบา มีการแตงไมตอนลางของหัวและทายใหมรอยเวาจนมีลักษณะคลายงาม ใชเปนเหมอน
ู
่
้
ั
ุ
ุ
ํ
บนไดใหปนขนและลงไดสะดวก โดยเฉพาะเมืออยในทะเล รวมทงมการทาหลังคาจว ซงใชใบเตยหนามเยบตอกนเปนวสดมง
ั
ี
้
็
ั
ึ
ั
่
ั
่
ึ
้
ึ
่
ื
ั
เพอกนแดดกนฝน ผืนหลงคาคลุมบริเวณตรงกลางคอนไปทางดานทายของเรอ ประกอบดวย พนทเปดนอกชายคา ซงปลอย
่
่
ั
ั
ื
ี
ื
่
ิ
ี
ั
เปนดาดฟา สวนพนทภายในทอยอาศย ประกอบดวย พนทสาหรับกน อย หลบนอน และวางภาชนะหรือสิงจาเปน โดยเฉพาะ
ํ
ี
่
ํ
ู
่
ื
้
่
้
ั
ู
ื
ี
ื
ิ
่
ื
้
กระบอกไมไผใสนาจดสําหรับดมกนและทําอาหาร
ํ
ี
้
ี
ั
ั
่
สวนในฤดูมรสุมตะวนตกเฉยงใต ชาวมอแกนหยุดการเรรอนและตังถนฐานชวคราว โดยเลือกทาเลชายฝงทปลอด
ํ
่
ิ
่
ํ
จากคลืนลมแรง มีแหลงนาจดอยใกล ๆ ปลอดภัยในการตังถนฐาน รวมทังตองไมเปนพนทอปมงคลตามความเชือของชาวมอ
ั
่
้
่
ี
่
่
ิ
ู
้
้
้
ื
ื
ี
ึ
ื
่
่
ั
ี
่
ั
แกน เมอชาวมอแกนหนมาใชชวตอยกบทในระยะเวลาทไมนานมกนก จงตองการทอยอาศยทสามารถทาขนอยางงาย ๆ และ
ี
้
่
ู
ั
ั
ํ
ั
ู
ิ
ี
ี
่
ึ
่
ึ
ั
เปนของชวคราว ชาวมอแกนจงยกหลังคากนแดดฝนบนกาบางมากางบนโครงเสาและคาน ยดโยงโครงสรางตาง ๆ ดวยหวาย
ึ
ั
ู
่
ํ
่
ื
้
ั
ี
่
้
ื
ี
ี
่
ิ
่
ั
ั
ี
ิ
หรือเถาวลย กอเกดเปนเพงพกทมีลกษณะหลังคาจัว ถอวาเปนการจาลองพืนทอยอาศยในกาบางมาไวทชายฝง พนทภายในที ่
ั
ี
้
่
ุ
ั
ั
่
ี
ู
ู
ั
ื
ั
ั
ี
อยอาศย ประกอบดวย พนทกะทดรดทสุดสําหรบการอยอาศย มทวางกองไฟอยูดานหนาสําหรบใชหงหาอาหาร ใหความ
ั
่
ี
ํ
ื
ื
ั
อบอน และปองกนสัตวรายไปในคราวเดียวกน มพนทวางกระบอกไมไผบรรจุนาจดสําหรบใชหงตมอาหารและดืมกิน และ
ั
่
้
้
ุ
ั
่
ุ
ี
ี
ี
่
ื
พนทนอน
้
ี
ิ
ี
ชวงท 2 ชวงลงหลกปกฐาน ความเปลียนแปลงตาง ๆ สงผลกระทบตอวถชวตของชาวมอแกน ทาใหไมสามารถ
ิ
ั
่
ํ
ี
่
้
ื
ั
เขาถงทรพยากรธรรมชาติอยางทเคยกระทามา จงหนมาลงหลักปกฐานมากขึน เมอชาวมอแกนหันมาใชชีวตอยกบทใน
ี
ํ
ั
่
ี
ึ
่
่
ู
ึ
ั
ิ
ํ
ั
่
ี
ี
ั
่
้
่
ู
ึ
ั
ี
ั
ึ
ี
่
ระยะเวลาทียาวนานขน ทาใหตองการทอยอาศยทีมลกษณะแข็งแรงและจริงจงกวาเพงพก จงปลูกสรางกระทอมทมเสาปกลง
ิ
ั
ี
บนพนทราย ยกสูงจากระดบดินประมาณ 2.00 เมตร ขนาดกวาง 2 ชวงเสา โดยมระยะของชวงเสาราว 1.90 เมตร ขนาดยาว
ื
้
4 ชวงเสา โดยมระยะของชวงเสาราว 2.30-2.40 เมตร ใชวสดธรรมชาติทหาไดในละแลกถนฐาน ไดแก ใชทอนไมกลมเปน
ี
่
ั
่
ุ
ิ
ี
ู
ื
ื
ุ
โครงสรางเสาและคาน ใชหลาวชะโอนหรอฟากไมไผปพน ใชใบเตยหนามหรอใบคอทาฝาและมงหลังคา ยดโยงโครงสราง
ํ
ื
ึ
้
ตาง ๆ ดวยหวายและเถาวลย
ั
ู
่
ี
้
ั
กระทอมแตละหลังของชาวมอแกนมีความคลายเหมือนกนทงรปลักษณและขนาด ใชเปนทอยอาศยของครอบครัว
ู
ั
ั
่
ั
ั
้
ี
ั
ั
ี
ู
ี
ี
ู
ิ
่
ั
ื
่
เดยวทมสมาชกราว 5 คนหรอมากกวา สะทอนถึงการพฒนาทอยอาศยเพอรองรบการอยอาศยทยาวนานมากขึน ยงคงเปน
ื
่
่
ี
ึ
การปลูกสรางอยางงาย ๆ แตมีการเลือกใชวสดทีหาไดไดในละแวกถินฐาน ซงมขนาดใหญขน การใชเทคนคการกอสรางท ่ ี
้
ุ
่
ั
่
ี
ิ
ึ
่
มนคงขึน ทศทางและการวางผง ใชทะเลเปนหลักในการอางอง จงเรยงกนเปนแถวและขนานกับแนวชายฝง กระทอมแตละ
ิ
ิ
ั
ี
่
ั
้
ั
ึ
หลังตงฉากกบแนวชายฝง ดวยการหันหนาเขาหาฝง หนหลังออกทะเล รวมทังมการเวนระยะหางตามความเชือของชาวมอ
้
ี
้
ั
ั
ั
่
ั
ี
่
ู
ํ
ิ
็
แกนวา “พอใหผีเดนผานได ถาผีเดนผานไมไดผีเขาไปในบาน ทาใหเดก ๆ ภายในบานเปนไข” ทาใหบรเวณทอยอาศยของ
ํ
ิ
ิ
ู
ี
ี
ี
ชาวมอแกนมีความโปรงโลง มีแสงแดดสองถง และมกระแสลมไหลเวยนไดด สวนการจดวางพืนทใชสอยภายในทอยอาศย
ั
่
ึ
ั
้
ี
่
ี
้
้
ซงสามารถตอบสนองตอการใชสอยมากขึน ประกอบดวย โถง ทาหนาทเปนพนทอเนกประสงค และเปนทตงของบนไดทางขึน
่
ี
่
ึ
ั
ั
ํ
้
ื
่
ี
ี
้
่
ู
ั
่
ํ
ี
ั
้
ื
ั
ั
ึ
่
้
ซงมจานวนขันเปนเลขค เชน 3 5 7 เปนตน ถดจากโถงเปนครว ซงตงอยดานในสุดและมระดบเดยวกน ประกอบดวย พนท ี ่
่
ึ
ี
ั
้
ี
ี
ี
้
ื
้
ี
ั
ั
่
ู
้
ี
สําหรับตงเตาไฟ และพืนทวางภาชนะ ถดจากครวมประตูออกสพนทเปดนอกชายคาปลอยเปนระเบยง ซงมการลดระดับพนตา ่ ํ
ื
่
ึ
ี
้
่
ั
ี
่
ื
ี
ื
้
้
่
ื
็
้
ุ
ี
ี
ั
กวาพนเรอนประมาณ 40 เซนตเมตร ใชเปนพืนทซกลาง พนทเกบอปกรณทามาหากิน และพนทประกอบกิจกรรมเกยวกบ
ั
ิ
่
้
ี
ํ
ื
่
ี
้
่
อาชพ ชาวมอแกนสามารถขนและลง จากเรอไดโดยตรง พืนทตรงขามโถง ซงมการยกระดับพนสูงกวาพนเรอนประมาณ 10
ื
้
ื
ี
่
ึ
้
ึ
้
ื
ื
ี
ั
ู
่
้
ึ
ี
่
ื
ุ
้
ื
่
็
เซนติเมตร ประกอบดวย พนทเกบของ ซงตงอยบริเวณดานขาง สวนดานในสดใชเปนพนทนอน
ี
้
ั
ั
้
ิ
ุ
ิ
่
ั
่
ชวงท 3 การตงถนฐานถาวร ภายหลังเหตการณธรณีพบตภยคลืนยักษสึนาม ใน พ.ศ. 2547 ชาวมอแกนไดรบ
ั
ิ
ิ
ี
่
ื
้
ุ
ี
ั
ิ
่
ี
ั
ิ
ิ
ความชวยเหลือจากหนวยงานตาง ๆ ในการจดตงชมชนถาวรแหงใหมในบรเวณอาวบอนใหญ ถอวาเปนการปรบเปลียนวถชวต
ั
4