Page 53 - The 10th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 53
ื
ั
ั
ั
รปแบบของเรอนพกอาศยทไดรบอทธิพลตะวนตกทสมพนธกบการสมปทานปาไม
ั
ู
ั
ั
ั
ิ
ี
่
ั
่
ี
ํ
ื
ื
ในเมองลาปางและเมองแพร 1
Patterns of Houses with Western Influence, Related to Forest Concessions in
Lampang and Phrae
2
ิ
ี
ิ
ณัฐชาต โกสินทรานนท เกรยงไกร เกดศร ิ 3
ิ
บทคัดยอ
ั
่
้
ิ
ั
ั
ี
ี
ี
่
บทความนมุงคนหารูปแบบของเรือนพกอาศยทไดรับอทธพลตะวันตกทสมพนธกบการสัมปทานปาไมในเมองลําปาง
ั
ั
ื
ิ
้
ื
ื
ึ
ู
ู
ื
ู
ื
และเมองแพร มีสาระในการศกษา ไดแก การกอรปของเรอนแตละรปแบบ รปทรง และการจัดวางพนทใชสอยภายในเรอน
ี
่
ู
ิ
่
ิ
้
่
ื
ิ
เปนงานวจยพนฐานเพอสรางองคความร และเตมเตมชองวางของการศึกษาสถาปตยกรรมพืนถนทีไดรบอทธพลตะวันตกใน
็
ิ
ั
ิ
้
่
ื
ั
ภาคเหนอของประเทศไทย มีเรอนพกอาศยในชวงสัมปทานปาไมเปนประชากรในการวิจย ซงใชวธสุมแบบเจาะจง
ั
ั
ิ
ี
่
ื
ึ
ื
ั
้
ึ
้
ั
ํ
้
ํ
ึ
ั
ี
ุ
ื
(Purposive Sampling) โดยกาหนดคณลักษณะขนเพอเปนบรรทดฐานในการคดเลือก มเรอนกรณีศกษาจานวนทังสิน 42
ื
่
ั
ั
ํ
ั
หลัง ประกอบดวย เรือนพกอาศัยในชวงสัมปทานปาไมในเมองลําปาง จานวน 21 หลง เรือนพกอาศัยในชวงสัมปทานปาไมใน
ื
ื
เมืองแพร จานวน 21 หลัง ผลการศกษาพบวา สามารถจาแนกรูปแบบของเรอนพกอาศยในพืนทศกษาออกเปน 2 กลุมใหญ
ี
่
ํ
้
ึ
ํ
ั
ั
ึ
่
ึ
ไดแก กลุมแรก คอ กลุมสถาปตยกรรมแบบดังเดม สวนกลุมท 2 คอ กลุมสถาปตยกรรมแบบประยุกต ซงสามารถจาแนก
ํ
้
ื
่
ื
ี
ิ
ี
่
้
ู
ี
ี
ุ
ื
ื
ออกเปน 4 รปแบบ ไดแก เรอนไมประยกตแบบมเฉลยงรอบ เรือนไมประยุกตแบบประดับไมฉลุลาย เรือนไมประยุกตพนทใช
ี
่
ั
ิ
สอยแบบอิทธพลตะวนตก และเรือนไมประยุกตพนทใชสอยแบบเรือนดงเดิม
ั
้
้
ื
้
ู
ั
ทงน การกอรปของเรือนแตละรูปแบบจะสัมพนธกบชวงสัมปทานปาไมทางภาคเหนอของประเทศไทย พ.ศ. 2398-
ื
้
ั
ั
ี
ู
ื
ี
่
ั
้
ิ
ี
่
ิ
2503 โดยสามารถแบงออกเปน 5 ชวง ดงน ชวงท 1) ภายหลังสนธสัญญาเบาวรง (พ.ศ. 2398-2426) รปแบบของเรอน
ั
ื
ั
ี
่
ี
ู
้
ึ
ิ
ั
่
ื
ี
่
ี
้
พกอาศยทสรางขนเปนรปแบบเรอนไมแบบดงเดม ชวงท 2) ภายหลังสัญญาเชยงใหม ฉบบท 2 รปแบบของเรอนพกอาศัยท ่ ี
ั
ั
ู
ื
ี
่
ี
พบวามการสรางเรือนรปแบบเรือนไมประยุกตแบบมเฉลียงรอบและเรอนไมประยุกตแบบประดับไมฉลุลาย ชวงท 3) ภายหลัง
ี
ู
ู
ื
ื
้
่
ี
ุ
ื
เหตุการณจลาจลในมณฑลพายัพ (พ.ศ. 2443-2455) พบวามการสรางเรอนรปแบบเรอนไมประยกตพนทใชสอยแบบอิทธพล
ี
ิ
ั
ั
่
้
้
ุ
ื
่
ึ
ี
ี
ิ
ตะวนตก และเรือนไมประยกตพนทใชสอยแบบเรือนดงเดม ชวงท 4) ภายหลังรถไฟสายเหนือสรางถงเดนชัย (พ.ศ. 2455-
่
ื
ี
่
2475) พบวามการสรางเรอนประเภทเรอนไมประยกตพนทใชสอยแบบอิทธพลตะวนตกมากขนและ ชวงท 5) ภายหลังการ
้
ึ
ี
้
ี
ุ
ั
ื
ื
ิ
เปลียนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2475-2503) พบวาเกดการสรางเรือนไมประยกตพนทใชสอยแบบเรือนดงเดมอยางแพรหลาย
้
ื
ุ
่
ิ
่
ี
ิ
ั
้
ํ
ั
่
คาสาคญ: สถาปตยกรรมทีไดรบอทธิพลตะวันตก เรือนพกอาศัยไม การสัมปทานปาไม เมืองลําปาง เมืองแพร
ั
ั
ํ
ิ
Abstract
This article aims to find the patterns of houses with Western style influence that are related to
the forest concessions. The study subjects are history of the house, form, and space planning. The
research outlines newly discovered information and filling the gap of studies in vernacular architecture in
Northern Thailand. To highlight a better understanding of design with Western influences. The research
method is done by a survey, an observation, and an interview using houses within forest concession: 21 in
Lampang and 21 in Phrae as the research study.
1
บทความนีเปนสวนหนึงของวิทยานพนธหวขอ “สถาปตยกรรมทีไดรบอทธิพลตะวันตกทสมพันธกับการสมปทานปาไมในเมืองลาปางและ
ํ
ั
่
่
่
ั
ิ
ี
ั
ิ
ั
้
ั
ื
ิ
ั
ิ
เมองแพร” บณฑตวทยาลัย มหาวิทยาลยศิลปากร
้
ิ
่
ั
ิ
ั
ู
ิ
ั
ิ
2 หลกสตรศลปศาสตรมหาบณฑต สาขาสถาปตยกรรมพืนถน คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยศลปากร
3
ั
ิ
้
ิ
สาขาสถาปตยกรรมพืนถน คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยศลปากร
่
44