Page 35 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 35
3.1.2 องคประกอบของคติความหมาย ความเชื่อดั้งเดิมของไทย คือเชื่อในเรื่องผีสาง ธรรมชาติ ไสยศาสตร
ั
ั
่
ุ
ิ
ื
จนตอมาไดมีการเผยแพรศาสนา ไทยไดรบเอาความเชอจากการนบถอพทธศาสนาเขามา (ประเวศ อนทองปาน: 2555) เปนความ
ื
เชื่อในลักษณะผสมผสานระหวางความเชื่อทางศาสนากับความเชื่อทางไสยศาสตร ความเชื่อลักษณะนี้ปรากฏเดนชัดในการ
่
ี
่
ั
ิ
ี
่
ื
ิ
ี
ประกอบพธกรรม ทำใหเกดการสรางสถาปตยกรรมเพอการบูชาความเชือ สถาปตยกรรมไทยจึงมความเกยวของกบศาสนา และคติ
ความเชื่อ ทำใหเกิดการสรางสถาปตยกรรม ที่แสดงถึงความเชื่อ โดยใชสัญลักษณเชิงความหมายเปนตวแทนของความเชื่อ นับวา
ั
ั
ิ
ิ
ั
ศาสนามีอทธพลตอการสรางสถาปตยกรรมของไทย จนทำใหเกดเปนวฒนธรรม และเปนเอกลกษณของสถาปตยกรรมไทย
ิ
ุ
ั
ื
ู
่
อาวธ เงนชกลน (2549) กลาววา การออกแบบอาคารขนอยกบวัตถประสงค บางเนนพนทใชสอย บางเนน
ิ
ู
ี
่
ิ
ุ
้
้
ึ
ิ
ื
ิ
ั
ี
้
่
้
็
ิ
ู
ื
่
ิ
่
ี
ทางคตความเชอ บางกเนนทงประโยชนในทางกจกรรมควบคูกบเนนการสรางรปลกษณทมคตแฝงอย ทงนเพอสงเสรมใหกจกรรม
ั
ิ
ี
ู
ั
ั
้
ั
ึ
้
ดงกลาวมมติในทางความหมายยงขน
่
ิ
ิ
ี
็
ชวพงศ ชำนประศาสน (2561) ไดใหความเหนของคตความหมายในงานสถาปตยกรรมไทยวา สถาปตยกรรม
ิ
ิ
ุ
ึ
ั
ั
่
ไทยมีสิงตกแตงเปนสญลักษณ บงบอกถงวตถประสงคของการใชงาน และบงบอกถึงฐานะทางสังคมและอำนาจทางการเมือง
ุ
จากการศึกษาขางตนทำใหสามารถสรุปไดวา คติความเชื่อและคติความหมาย หมายถึง วตถประสงคในการ
ั
ึ
ใชงานอาคารและประโยชนใชสอยโดยแสดงออกทางสัญลักษณ ซงบงบอกถงฐานะทางสังคม ดงรปท 4
่
ึ
ั
ู
่
ี
เอกลักษณ
ุ
ิ
คตความหมาย วัตถประสงคในการใช้งาน
กาลเทศะและฐานานุศกด ิ ์
ั
ุ
รปแบบการใชงานในปจจบัน
ู
ุ
เทคโนโลยีการกอสรางในปจจบัน
รปท 4 แนวทางออกแบบสถาปตยกรรมไทยรวมสมย รายละเอยดคตความหมาย
่
ี
ิ
ั
ู
ี
ี
่
ิ
ั
ทมา: ผูวจย (2564)
3.1.3 กาลเทศะของอาคารตามฐานานุศักด สถาปตยกรรมไทยเปนสิ่งกอสรางที่ประกอบดวยความเชื่อและ
์
ิ
ึ
ั
ี
์
ุ
ิ
ั
ั
ิ
ี
ิ
ุ
ประโยชนใชสอยรวมไปถึงอาคารมฐานานศกดตาง ๆ ซงหมายถง ตามควรแกเกยรตศกดิ (ตามพจนานกรม ฉบบราชบัณฑตยสถาน:
ึ
่
์
ี
2542) ทสามารถบอกถึงชนชั้นและฐานะของผูอย ฐานานุศักดิ์ในงานสถาปตยกรรมไทย หมายถึงการแสดงฐานะ และตำแหนง
ู
่
ิ
หนาที่ของบุคคลใหปรากฏในสังคมโดยอาศัยรูปแบบและลักษณะศิลปะทางสถาปตยกรรมไทยเปนเครื่องบงชี้ (เนติ โชติชวงนิธ:
ั
ี
ั
่
ั
ั
่
ี
2553) โดยทีงานสถาปตยกรรมไทยประเพณี มรูปแบบอนเปนเอกลกษณเฉพาะตน เปนมรดกทางวฒนธรรมอันสำคญทมแบบแผน
ี
ี
ื
ในการใชสอยและการออกแบบมาชานาน อาคารในสมัยกอนมีระเบียบในการออกแบบสรางสรรคที่มความเกี่ยวของกับเร่องของ
ฐานานุศักดิ์ การจะนำสถาปตยกรรมไทยประเพณี มาประยุกตใชนั้นตองคำนึงถึงปจจัยหลายประการเพื่อไมใหเกิดความขัดแยง
หรือความไมเหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของฐานานุรูปและฐานานุศักดิ์ ซึ่งจะแบงแยกตามลำดับผูครองเรือนตาม
ั
ั
้
ขนบประเพณีเดิม ดงคำกลาวทวา ถนนมกฎจราจรฉนใด ในสังคมกตองมระบบกริยามารยาทฉันนน (นจ หญชระนนทน: 2550)
ี
ั
ิ
ั
ี
่
ี
ิ
ี
็
ั
ิ
ุ
ั
์
ิ
ี
ี
ุ
ั
ั
ทงน ภญโญ สวรรณคร (2547) ไดแบงฐานศกดของอาคารในสมยกอน เปน 4 ประเภทตามลำดับสูงไปสามญ ดงน ้ ี
้
ี
้
ั
่
1. เครื่องยอด สถาปตยกรรมเครืองยอดมีความผูกพันกับศาสนา เปนการกอสรางอาคารเพื่อเปนพทธบูชาและเทว
ุ
่
ู
ู
ู
ื
่
่
่
ื
ี
้
ั
ิ
บชา การออกแบบเนนรปทรงไปทางตงเพอใหไดลักษณะทสงเดนกวาอาคารอน ๆ ทำใหเกดลักษณะของสถาปตยกรรมเครืองยอด
2. เครืองลำยอง สถาปตยกรรมเครืองลำยองใชกบอาคารทสรางขนเพอเปนทประทบของพระเจา พระมหากษตรย
่
ั
่
่
ี
ื
ั
ั
่
้
ี
ิ
ึ
่
หรือเปนอุเทสิกเจดียซึ่งหมายถึงเจดียที่สรางอุทิศพระพุทธเจาเทานั้น องคประกอบของเครื่องลำยอง ไดแก ชอฟา ใบระกา รวย
ั
ุ
ระกา งวงไอยรา นาคสะดง หางหงส ลานหนาบน
ิ
่
3. เรือนเครืองกอ แตเดมเปนอาคารทอยอาศย ทมการพฒนาวสดุกอสรางเปนการกออฐถอปน ซงการกออฐถอปน
ึ
่
ื
ิ
ี
ั
ี
ั
่
ั
่
ื
ี
ู
ู
ู
ิ
้
ในสมยกอนนนมกจะใชกบการกอสรางพระราชวงหลวง วงของเจานาย และเรอนของขาราชบรพาลระดบสูง
ั
ั
ิ
ั
ื
ั
ั
ั
ั
26