Page 31 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 31

ิ
                                                                                      ี
                          แนวทางการออกแบบสถาปตยกรรมไทยรวมสมัยแบบศรวชย
                                                                                         ั
                   Thai Srivijaya Contemporary Architecture’s Design Guidelines

                                                                     ั
                                                                                 3
                                                                2
                                                                   ี
                                                              ุ
                                                ั
                                                  
                                                                        ้
                                                                        ี
                                             ี
                                                  1
                                                  ุ
                                    พรหมสร  เจยรพนธ   สมโชค  สินนกูล   ธรชย  ลสุรพลานนท

           บทคัดยอ
                  
                   สถาปตยกรรมรวมสมัย ถือเปนการรักษาสถาปตยกรรมที่ทำใหสถาปตยกรรมสามารถตอบสนองการใชงาน และยังคง
             ุ
                                                                   
               
                                                                     ึ
                                                                ุ
                                                         ั
                            
                                                             ั
                                       ั
                                     
                                                        ิ
                                                                
                    ึ
                  ่
                         ั
                                                               ้
                                                               ี
                                                                                                        ั
                                                                                                    
           คณคา สือถงเอกลกษณของรากเหงาวฒนธรรมเดิม บทความวจยฉบบนมงเนนศกษาแนวทางการออกแบบสถาปตยกรรมรวมสมย
           โดยเลือกรากเหงาวัฒนธรรมเปนสถาปตยกรรมแบบศรีวิชัยในประเทศไทย ซึ่งจัดอยูในประเภทสถาปตยกรรมไทยประเพณี
                                                                                                         
                               ั
                                              ี
           ถูกคนพบที่ อำเภอไชยา จงหวัดสุราษฎรธาน โดยหลงเหลือสถาปตยกรรมเปนโบราณสถานประเภทศาสนสถานเพียง 3 แหง
                         ู
           ที่สามารถศึกษารปแบบของสถาปตยกรรมแบบศรีวิชัยได คือ พระบรมธาตุไชยา ปราสาทวดแกว และปราสาทวัดหลง การนำ
                                                                                ั
           สถาปตยกรรมไทยประเพณี มาออกแบบใหเปนสถาปตยกรรมรวมสมัย ตองนำมาประยุกตใชกับการออกแบบสถาปตยกรรมใน
           สังคมปจจุบัน โดยมีองคประกอบที่ตองศึกษาทั้งหมด 5 องคประกอบ ไดแก 1) เอกลักษณของสถาปตยกรรมศรีวิชัย คือ การจัด
           อาคารอยูในผังรูปกากบาท จัดที่วางภายในเปนโถงกลาง ทางขึ้นอยูดานทิศตะวันออก และมีการตกแตงดวยลวดลายกุฑ 2) คต ิ
                                                              
                                                                                                    ุ
                                                                                             ึ
                                                                                                         ้
                                                                                                ่
                                                                                                         ั
           ความหมายของสถาปตยกรรมศรีวชยทตอบสนองการใชงานตามความเชือทางศาสนา 3) ฐานานุศกดของอาคาร ซงทีกรณีศกษาทง
                                                                                    ์
                                                                                             ่
                                                                                    ิ
                                     ั
                                                               ่
                                        ี
                                                                                  ั
                                                                                                    ึ
                                    ิ
                                        ่
                            ู
                                                                                        
           3 แหง ถูกจัดใหอยูในรปแบบของศาสนสถาน หรืออาคารทางศาสนา 4) รูปแบบการใชงานในปจจุบันที่ตองคำนึงถึงบริบท ความ
                                                                                                   
                                                                                             ั
                                                                              ี
                                                                                                ี
                                                                                                ่
                                                                                          
                                                   ั
                                                                                            ุ
                                                                                  
                                                              
                              ่
                                
                     
                       
                              ี
                            ้
                            ื
             
           ตองการของผูใชงาน พนทใชสอย รปทรงของอาคาร วสดุและโครงสราง และ 5) เทคโนโลยการกอสรางในปจจบน ทจะตองนำมา
                                     ู
                                                                              
           วเคราะหรวมกน และเมือนำทัง 5 องคประกอบมาใชในกระบวนการออกแบบจึงทำใหเกดเปน สถาปตยกรรมไทยรวมสมัยแบบศร ี
                                                                           ิ
            ิ
                      ั
                                                                          
                             ่
                                       
                                 ้
           วชย
             ั
            ิ

                      ี
                                                         ั
                        ั
                       ิ
                 ั
           คำสำคญ:  ศรวชย  ไชยา  การออกแบบ  สถาปตยกรรมรวมสมย  สถาปตยกรรมไทยประเพณี

           Abstract
                   Contemporary architecture is a kind of architecture conservation which allows traditional architecture
           to remain its value, usable, to reflect its origin and cultural identity. This research paper focuses on approach
           to contemporary architectural design, based on Srivijaya architectural origin. which have remained found in
           Chaiya District, Surat Thani, Thailand. There are only 3 religious places remained as Srivijaya architectural styles
           which are Phra Borommathat Chaiya, Prasat Wat Kaew and Prasat Wat long. By  applying Thai traditional
           architectural required for considerations into contemporary architectural design, there are 5 element, 1) The
           uniqueness of Srivijaya architecture in terms cross-shaped plan arrange, a central hall interior space, the east
           facing entrances and a decoration of kudu patterns. 2) The principle of Srivijaya architecture employed in line
           with religious beliefs, 3) The building hierarchy of the 3 cases was categorized as religious based or religious
           building places. 4) The current usage patterns must be considered for contexts, users requirement, function,
           from, structures and materials. 5) Current building technology and innovations. Regarding these 5 element
           design along with the process the Contemporary Thai Srivijaya architecture will be sustained.

           Keywords:  Srivijaya, Chaiya, Design Guidline, Contemporary Architecture, Traditional Thai Architecture



           1 หลกสตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลยมหาบณฑต คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                ู
                               
              ั
                                             ิ
                                      ั
                                                                                      ุ
                                           ั
                                                                                  
                                                     
                                                               
                                                                                     
                                                                           
                     
                                                     
           2 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                                            
                                                                             ุ
                                                                           
                     
                                                     
                                            
           3 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                                                                             ุ
                                                         22
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36