Page 25 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 25
ั
เนื่องจากเกณฑการประเมินความยั่งยืนพลังงานและสิ่งแวดลอมไทยสำหรบอาคารพักอาศัย (TREES HOME) ไดมีการ
่
้
ั
ั
้
่
ประกาศใชเมือไมนานมานี อีกทั้งยังเปนเกณฑที่ใชสำหรบอาคารพักอาศยซึงใชไดทังอาคารใหมและการปรับปรงครังใหญสำหรับ
ุ
้
ี
่
ี
่
ึ
่
ั
ั
้
ี
อาคารเกา ซงเปนเรองใหมของผูทมสวนไดสวนเสียในงานอสังหาริมทรพยประเภทอาคารพักอาศยทงปจจยดานตางๆ ทสงผลตอ
ั
ื
ั
่
ู
ิ
การตัดสินใจเขารวมเกณฑ ความตองการดานที่อยูอาศัย การรับรูขอมลของผูบรโภค และคาความคิดเห็นดานความคุมคาในการ
ิ
ิ
ั
ึ
ิ
ื
่
่
ุ
ั
ั
ลงทนของผูบรโภค จงเปนสาเหตุใหผูวจยทำการวจยในเรืองปจจัยความเปนไปไดในการเขารวมเกณฑการประเมินความยงยนทาง
ึ
่
พลงงานและสิงแวดลอมไทย สำหรับอาคารพักอาศย (TREES-HOME) ดงกลาว เพือศกษาปจจยตาง ๆ ทมผลตอการเขารวมเกณฑ
ั
่
ั
ี
ั
ั
่
ี
ของผูบริโภค และนำขอมูลดังกลาวไปตอยอดสำหรับธุรกิจการพัฒนาดานอสังหาริมทรัพย หรือดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของเพื่อเปน
ประโยชนในอนาคต
ั
ุ
ิ
ั
2. วตถประสงคของการวจย
2.1 เพอศกษาลกษณะทางประชากรศาสตร การรับรขอมลและอตราสวนคาความคิดเหนดานผลตอบแทนตอตนทนตอ
ั
ู
ุ
็
ู
ั
ื
่
ึ
ั
ั
่
ื
ั
ิ
่
ั
ิ
เกณฑการประเมนความยงยนทางพลงงานและสิงแวดลอมไทยสำหรับอาคารพกอาศัย (TREES-HOME) ของกลุมตวอยางผูบรโภค
อาคารพกอาศยประเภทบาน
ั
ั
่
่
2.2 เพอศกษาตวแปรทมผลตอความเปนไปไดในการเขารวมเกณฑการประเมนความยงยนทางพลงงาน และสิงแวดลอม
ั
ื
ิ
ั
ี
่
ั
่
ี
ื
ึ
ั
ิ
ไทยสำหรับอาคารพักอาศย (TREES-HOME) ของกลุมตวอยางผูบรโภค
ั
ี
3. แนวคิดและทฤษฎทเกยวของ
่
ี
่
ี
3.1 ประชากรศาสตร
ุ
กอบกาญจน เหรียญทอง (2556) มีแนวความคิดวาศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับประชากรประกอบไปดวย เพศ อาย
ิ
่
ึ
ิ
ิ
ื
้
ั
ี
การศกษา ฐานะทางเศรษฐกจและสังคม เชน อาชพ รายได หรอเชอชาติ เปนตน ซงสอดคลองกบแนวความคดของ ศรวรรณ เสร ี
ึ
ิ
ื
่
ี
รัตน (2550) ทกลาววา ลักษณะทางประชากรศาสตรประกอบดวย อายุ เพศ รายได และการศึกษา เปนเกณฑที่นิยมใชแบงสวน
ลักษณะประชากรศาสตรที่สำคัญ เปนสถิติที่วัดไดของประชากรที่ชวยกำหนดกลุมเปาหมาย ซึ่งลักษณะประชากรที่ตางกันจะม ี
ิ
ี
่
ั
ลักษณะทางจิตวทยาทตางกนเชนกน
ั
3.2 กระบวนการรบร ู
ั
ศิริวรรณ เสรีรตน (2538) มีแนวความคดวา กระบวนการที่แตละบุคคลจะรับรมผลตอประสาทสัมผัส ไดแก ตา ห ู
ี
ู
ั
ิ
ื
้
จมก ลน ผิวหนง และกลามเนอสวนตาง ๆ โดยจะถกสงตอไปยังสมอง เพอใหเกดกระบวนการคิดวเคราะหตามความรูสึก และแปล
ู
ิ
่
ื
ิ
ิ
ู
ั
้
ผลเพื่อตีความสิ่งนั้นตอไป ดังนั้นการรับรูของแตละคนเปนสิ่งที่กำหนดความตองการ แรงจูงใจ และมีผลตอพฤติกรรมที่ไม
ั
เหมือนกน
ิ
ุ
็
3.3 การวิเคราะหคาความคดเหนดานความคมคาในการลงทุน (Benefit Cost Ratio)
่
ตามหลักฐานของ เพรสท และเทอรวี (1965) ถูกอางถึงในขอมลของมหาวิทยาลยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) ทได
ี
ั
่
ู
ั
ี
ั
ี
ระบุวา เปนเทคนิคทางดานการตคาตนทุนและผลประโยชนที่มตวตน สามารถคิดคำนวณเปนตวเงินของโครงการได ตอมามีการ
ี
ิ
ขยายแนวความคิดจากการคามาสูการวเคราะหทางเศรษฐกจและสังคม เปนการวเคราะหตนทนและผลประโยชนทไมมีตวตนหรอ
ิ
ั
่
ุ
ื
ิ
ุ
่
คดเปนเงนไมไดมาวเคราะหดวย ซงไดรบความสนใจอยางกวางขวางและแพรหลายมากขน เนองจากการดำเนินโครงการตองใชทน
ื
ิ
ิ
่
ั
ึ
ิ
ึ
้
และทรัพยากรเปนจํานวนมาก กอนจะตัดสินใจดําเนินการโครงการใดจึงจําเปนตองมีการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชนของ
ิ
่
ึ
ั
ื
โครงการ เพอชวยใหทราบถงโอกาสทีจะประสบผลสําเร็จ และชวยในการตัดสินใจวาสมควรจะดําเนนโครงการนนหรอไม
่
้
ื
17