Page 26 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 26

ื
                                                      ี
                           ั
                     ี
                                                         ั
                                                       ิ
                    ิ
                                                     ิ
                                      ิ
                                       ั
                                                                 ี
                                    ื
                                                                ิ
                                ่
                                ื
               4.  วธการวิจย เครองมอวจย และระเบียบวธวจย หรอวธการศึกษา
                       การวิจัยเพื่อหาปจจัยความเปนไปไดในการเขารวมเกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย
               สำหรับอาคารพักอาศัย (TREES-HOME) ในครั้งนี้ จะสามารถนำไปเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเกณฑการประเมินความ
               ยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทยสำหรับอาคารพักอาศัย (TREES-HOME) และเปนขอมูลสำหรับธุรกิจการพัฒนาดาน
                                                                       
                                                                                  ิ
               อสังหาริมทรัพยหรืออื่นๆ ที่เกี่ยวของ ไดนำไปตอยอด และเปนประโยชนตอบริษัทอสังหารมทรัพยและผูบริโภคในอนาคต โดย
               ขอบเขตงานวิจัยนี้ ประกอบดวยขอบเขตดานประเภทอาคารและดานพื้นที่ ไดแก บานเดี่ยว บานแฝด บานแถว ที่ออกแบบและ
                                               
               สรางใหมทั้งหมด มีพื้นที่ใชสอยภายในอาคารไมเกิน 2000 ตารางเมตร ที่อยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีขั้นตอน
                                                  
               ดำเนินการดังนี้ 1) การตั้งประเด็นปญหาและทบทวนวรรณกรรม 2) การศึกษาเบื้องตนโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
                                                                                     ิ
                          ่
                          ื
                                                                               ั
                                                                              ิ
                                  ึ
               Research) เพอหากรณีศกษาและจัดทำแบบสอบถาม 3) พฒนาแบบสอบถาม 4) การวจยเชิงปรมาณ (Quantitative Research)
                                                          ั
               กับกลุมตัวอยางผูบริโภค โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือเก็บขอมูลงานวิจัย 5) วิเคราะหขอมูลและทดสอบสมมติฐานโดยใช 
               โปรแกรมคอมพวเตอรทใชในการวเคราะหทางสถต (Statistical Package for the Social Sciences) และใชสถตเชงพรรณนาใน
                                 ี
                                
                                                                                                 ิ
                                                    ิ
                                                   ิ
                                  
                                                                                                   ิ
                           ิ
                                 ่
                                                                                              
                                        ิ
                                                                                                ิ
                                                    ั
                                    
                    ิ
                                                           ิ
                                      ู
                                            ุ
               การอธบายผลการวิเคราะหขอมล 6) สรปผลการวิจย การอภปรายผลและขอเสนอแนะ
                                            
                                         ั
                                                     ั
                       4.1 ประชากรและกลุมตวอยางในการวิจย
                                       
                          ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผูมีสวนไดสวนเสียในงานอสังหาริมทรัพยประเภทอาคารพักอาศัยในพื้นท ี ่
                                                                            
                                                                
                                                                        ื
                                                                ุ
                                                
                                                                            ุ
                                                                                                          
                                                                                                  ี
                                           
                 ุ
                                                                                           ุ
                                                                                           
                                                                                       
                                                                                                 ่
                                                                                               ี
                                                                              ี
                                                                                                       ่
                                                                              ่
                                                                                                 ี
                                                    
               กรงเทพมหานครและปริมณฑลโดยกลุมตัวอยางแบงออกเปน 2 กลมหลัก ๆ คอ กลมท 1 (40%) เปนกลมอาชพทมสวนเกียวของ
               กับเกณฑการประเมินโดยตรง สามารถแสดงความคิดเหนในงานวิจัยครั้งนี้ไดในแงของบุคคลที่มีความรูเฉพาะทางอาชีพ และยง
                                                        ็
                                                                                                            ั
                                                                ั
               เปนหนึ่งในกลุมผูบริโภค ไดแก กลุมวิชาชีพดานธุรกิจอสังหารมทรพย กลุมวิชาชีพดานการออกแบบ กลุมวิชาชีพดานวิศวกรรม
                                                             ิ
               กลุมผูคาวัสดุกอสรางและอุปกรณประกอบอาคาร และกลุมที่ 2 (60%) เปนกลุมอาชีพทั่วไปที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับเกณฑการ
               ประเมิน สามารถแสดงความคดเห็นในงานวิจัยครังนี้ไดในแงของผูบรโภคที่มระดับความรเกี่ยวกับเกณฑการประเมินแตกตางกน
                                                                  ิ
                                                    ้
                                                       
                                                                                ู
                                                                                                           ั
                                                                       ี
                                     ิ
               ออกไป ไดแก กลุมอาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ กลุมอาชีพพนักงานเอกชนและลูกจาง และกลุมธุรกิจสวนตัวและ
                 
                                        
                               
                                    ี
               เจาของกิจการ โดยใชทฤษฎการสุมแบบกำหนดโควตา (Quota Sampling)
                                ื
                                  ี
                                           ั
                             ่
                             ื
                       4.2 เครองมอทใชในการวิจย
                                  ่
                                                                                 ู
                                                                                                          ั
                                                                 ื
                          ผูวิจัยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมอเพื่อเก็บรวบรวมขอมลจากกลุมตัวอยาง โดยมีขั้นตอนดงน  ้ ี
               1) การศึกษาเบื้องตนโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อหากรณีศกษาและจัดทำแบบสอบถาม 2) สราง
                                                                                ึ
                                                            ็
                                                                           ี
                                                                                                           ิ
                                                                      
                                                                 ั
                                                                                                    
                                                              
                                                                                
                                                                                           
                                                                           ่
                                                                            ี
                                         ิ
                                             ่
                                             ื
               แบบสอบถามผานกรอบแนวความคดเพอสอบถามความคดเหนปจจยดานตาง ๆ ทมผลตอการตัดสินใจเขารวมเกณฑการประเมน
                                                         ิ
               ความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย สำหรับอาคารพักอาศย (TREES-HOME) 3) ตรวจสอบแบบสอบถามโดยนำเสนอตอ
                                                                ั
                      ่
                         ึ
                      ี
                                         ่
               อาจารยทปรกษาและหาคาความเทยงตรงของแบบสอบถาม (Index of Consistency: IOC)
                                         ี
                     
                                        
                       4.3 การเกบรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมล
                                                        ู
                                                      
                               ็
                                                     
                          ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลแบบปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในชวง
               เดือนมกราคม ป พ.ศ.2565 โดยใชแบบสอบถามที่สรางขึ้น จำนวน 240 ชุด โดยใหกลุมตัวอยางทำแบบสอบถามผาน Google
                           
                                                                               ิ
                          
                              
                      ่
                                                                                       
                                                               
                                                      ่
                                                                                                         ่
                                                  
                                                                                                       
                                                        ิ
                      ี
                                                      ึ
                                                                 ู
               Form ท สงใหผานชองทาง Social Network ตางๆ ซงวเคราะหขอมลและทดสอบสมมตฐานโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรทีใชใน
                   ิ
                                                                                                ิ
                                                                                                  ิ
               การวเคราะหทางสถต (Statistical Package for the Social Sciences) (กลยา วานชยบญชา, 2555) และใชสถตเชงพรรณนาใน
                                                                                                   ิ
                                                                                              
                               ิ
                                                                               
                                                                      ั
                                                                            ิ
                              ิ
                                                                                ั
                                    
               การอธบายผลการวิเคราะหขอมล
                    ิ
                                      ู
                                                            
                                                               ู
                                                             
                              ิ
                                              ่
                       4.4 สถิตและสูตรการคำนวณทีใชในการวิเคราะหขอมล
                                                                                                  ู
                                         ่
                                                                                                    ั
                                         ี
                                                          ั
                                                                   
                                                                                         ิ
                                     
                          การวเคราะหขอมลทไดจากแบบสอบถาม (กลยา วาณิชยบญชา 2545) โดยดำเนินการวเคราะหขอมลดงน  ้ ี
                              ิ
                                                                                                
                                                                    ั
                                       ู
                          4.4.1  สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เปนสถิติที่ใชอธิบายขอมูลที่เกี่ยวกับลักษณะทางประชากร
                                                          
                                         ั
                                                                                            ู
                                      ู
               ศาสตร ความตองการดานที่อยอาศยของผูบริโภค การรับรูขอมูลของผูบริโภค โดยมีระดับคะแนนการรับร 1-5 คะแนน (1=นอย
                                                           18
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31