Page 50 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 50
1. บทนำ
ประเทศไทยตั้งอยูในเขตสภาพภูมิอากาศแบบรอนชื้นใกลเสนศูนยสูตร สภาพอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทยจึงม ี
ลักษณะรอนอบอาวเกือบตลอดทั้งป ทำใหพลังงานแสงอาทิตยเปนสาเหตุหนึ่งในการสรางผลกระทบที่จะเพิ่มภาระการทำความ
ี
ั
่
ั
เย็นของบานพกอาศัย (นิรันดร วัชโรดม, ณัฐวุฒิ อินทบุตร ,2563) หากมององคประกอบของบานพักอาศยทีมหลังคาหรือดาดฟา
ิ
จะพบวา สวนที่ไดรับความรอนจากแสงแดดโดยตรงก็คือ หลังคา ทำใหสงผลกระทบโดยตรงตลอดทั้งวันตออุณหภูมภายในหอง
ึ
ุ
้
ั
ของตัวอาคาร ความรอนดงกลาวจะถกสงผานจากบริเวณใตหลังคามายังฝาเพดาน และมาสูภายในหองทำใหอณหภูมภายในสูงขน
ู
ิ
(อุทัย ประสบ-ชิงชนะ, 2541) ทำใหชั้นบนสุดของอาคาร และอาคารที่มีชั้นเดียวนั้น ยอมไดรับผลกระทบจากความรอนโดยตรง
ิ
ผานบรเวณหลังคา
่
รปท 1.1 แสดงการถายเทความรอนเขาสูอาคารผานทางหลังคา
ู
ี
ิ
ั
ี
ทมา: ผูวจย (2565)
่
้
การออกแบบระบายความรอนจากหลังคานัน โดยทั่วไปอาจแบงไดเปน 3 แบบ คือ การระบายอากาศที่ฝาชายคา การ
่
่
่
่
ั
ั
ั
้
ั
ระบายอากาศทหนาจวหลงคา และการระบายทีบรเวณแนวสันหลงคา โดยการระบายอากาศรอนทชายคา และหนาจวนนจะอาศัย
่
ี
ิ
ี
ั
่
้
่
ู
ั
ี
ึ
ี
แรงลมในการระบายความรอนสภายนอก สวนการระบายอากาศรอนทสนหลังคาจะใชการลอยตัวของอากาศรอนทลอยขนขางบน
โดยสำหรับในประเทศไทย เนองจากสภาพอากาศทมฝนตกมาก วธระบายอากาศทฝาชายคา จงไดรบความนยมแพรหลายมากกวา
ั
ี
ี
่
ิ
ื
ึ
ี
่
ิ
ี
่
ั
อีกสองแบบ เพราะสามารถปองกันน้ำฝนร่วเขาในชองใตหลังคาไดดีกวา (พันธุดา พุฒิไพโรจน, 2551) โดยเปนการระบายความ
รอนดวยการใชประโยชนจากลมธรรมชาติผานการพาความรอน หนึ่งในอาคารที่ไดรบผลกระทบจากความรอนจากหลังคานั้นคอ
ั
ื
ึ
ี
่
อาคารตกแถวหรือบานแถวชั้นเดียว ซึ่งเปนรูปแบบอาคารทีเปนท่นิยมอยางมากในประเทศไทย จากการที่ประชากรในเขตเมืองม ี
ความหนาแนนเพิมสูงขึ้น สงผลใหทีอยอาศัยในเขตเมองไมเพียงพอตอความตองการ รวมถึงสามารถตอบสนองความตองการของ
่
่
ื
ู
ั
ี
ี
่
ื
ี
่
ู
ี
่
ุ
ุ
่
ี
่
ี
ประชาชนกลมใหญทตองการทอยอาศยทมราคาไมแพงมาก เนองจากมกำลังทรพยไมเพยงพอทจะซือบานเดียวได (ปณยวร เตมธ-
ั
่
ี
ี
็
้
ั
นานนท, 2554)
ี
่
ั
ั
ุ
ั
้
่
ี
จากทฤษฎีการพาความรอน (Convection) นนวาดวยการทพลังงานความรอนถายเทผานวตถทสัมผัสกนโดยทิศทางการ
่
ี
่
ิ
ั
ั
้
ุ
ู
ึ
่
ี
เคลือนทของพลังงานจากบรเวณทีมอณหภมิสูงไปยงบรเวณทีมอณหภมิตำกวา พบวาอากาศรอนนนจะเคลือนทขนดานบน ซงเปน
่
้
ี
่
่
ึ
ุ
่
่
ี
ู
ิ
หลักการพาความรอนโดยวิธีธรรมชาติ สวนการพาโดยการบังคับ (Force Convection) นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อของไหลมีความเร็วอย ู
แลวดวยกลไกภายนอก เชน การใชพัดลมหรือสูบน้ำ (อนุสรณ สุขเกษม, 2550) เชนเดียวกับหลักการทำงานของพัดลมระบาย
่
ี
้
ู
ึ
ู
อากาศทใชการระบายแบบดดออก (Extraction) ซงอาศยการดดเอาอากาศเดิมออกสภายนอก ทำใหความดันภายในบรเวณนันตำ ่
ั
่
ู
ิ
กวาภายนอก อากาศใหมกจะแทรกซึมมาตามชอง หรือรอยแตกของอาคารได (ชัชชัย นบธีรานุภาพ, 2542) โดยจากตามทฤษฎีท ่ ี
็
ั
กลาวมา บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง อากาศจะขยายตัว และลอยตัวสูงขึ้น ทำใหความหนาแนนต่ำกวาอากาศโดยรอบ และความดน
อากาศบริเวณนั้นต่ำกวาบริเวณใกลเคียง สวนบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ ความหนาแนนจะสูงกวาอากาศโดยรอบ ทำใหความดน
ั
้
ี
ี
ึ
ึ
บรเวณนันสูงกวาบรเวณใกลเคยง มวลอากาศรอนภายใตหลังคาทมความดนต่ำกวาภายนอกนันจงขยายตว ยกตวสงขน และสะสม
้
ิ
ี
ู
้
ั
ิ
่
ั
ั
่
ั
ี
ู
อยบรเวณพืนทใตหลังคา ถามการทำชองระบายอากาศออกดวยกลไกการพาความรอนแบบบังคบ (Force Convection) อาจเปน
ิ
ี
้
42