Page 55 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 55
ั
จากสมการขางตน แสดงถึงความสามารถในการลดอุณหภูมิภายในพื้นที่อาคารผานการพาความรอน โดยตองอาศย
ั
ิ
่
ั
ี
ื
้
ู
ี
ุ
่
ู
ั
ุ
ปจจยสำคัญคอ อณหภมิภายนอกนนตองตำกวาอณหภูมบริเวณภายในทจะลดอุณหภมิ และจำเปนตองมอตราการไหลของอากาศ
ุ
ั
ี
กลาวคือยิ่งอัตราการไหลของอากาศ (Q) ซึ่งเปนปจจยท่ควบคมไดผานการระบายอากาศแบบบังคับ (Force Convection) และ
้
ิ
ึ
ความแตกตางของอุณหภูม (∆T) สูง จะทำใหปรมาณความรอนทอากาศสามารถพาไปได (q ) สูงขนตาม
ิ
่
ี
s
ี
่
ั
ิ
ื
่
ี
่
3.3 การระบายอากาศพนทใตหลงคา (Attic Ventilation) และงานวจยทเกยวของ
ั
ี
้
่
การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาต (Natural Ventilation) เปนการนำอากาศใหเคลื่อนที่ไปดวยอัตราทีชา โดยท ่ ี
ิ
ุ
ิ
ิ
ี
่
ิ
ี
่
่
การเคลือนทจะเกดจากความแตกตางของอณหภูม ความกดอากาศ หรือการเคลือนไหวของลม การระบายอากาศโดยวธธรรมชาติ
นี้มีขอจำกัดคอนขางมาก อีกทั้งยังไมสามารถที่จะควบคุมประสิทธิภาพไดแนนอน เชน ชองเปดตาง ๆ อาจจะตองเปดทิ้งไว
ั
้
็
ิ
ู
ั
่
ตลอดเวลาถาปดชองเปดเหลานนแลวประสิทธภาพกจะลดลง หรืออาจจะขนอยกบสภาพอากาศภายนอกวาเหมาะสมทีจะนำมาใช
้
ึ
ู
ั
ิ
หรือไม ในชวงเวลาใดบาง และการระบายอากาศไมใชเปนการลดความรอนทเกดจากการแผรงสี แตจะเปนการลดอุณหภมิบรเวณ
ิ
่
ี
้
ิ
ี
็
ื
ู
้
่
ี
ึ
่
ผิวหนาของวสดุ ซงจะชวยในการลดการถายเทความรอนเขาสตัวอาคาร การระบายอากาศในพนทใตหลังคากใชแนวคดน สามารถ
ั
่
ู
ชวยทำใหอณหภมิในชองอากาศใตหลังคาลดลง และจะชวยลดการถายเทความรอนเขาสูอาคาร และจากกฎของการเคลือนทของ
ุ
ี
่
ความรอน (Thermodynamics) ความรอนจะไมสามารถเคลื่อนที่จากจุดที่เย็นกวาไปสูจุดที่รอนกวาไดเองโดยธรรมชาติ โดย
ปราศจากแรงกระทำจากภายนอก ฉะนั้นเมื่ออุณหภูมิภายใน และภายนอกอาคารมีคาตางกันมากยิ่งขึ้นไมวาจะเปนสวนหลังคา
ผนัง หรือพื้นของอาคารก็จะทำใหความรอนถายเทเขาไปสูในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิตํ่ากวาและถาเกิดในอาคารนั้นมีการใช
ึ
้
เครืองปรบอากาศกจะยิงทำใหเกดการถายเทความรอนมากยงขนดวย (อวรทธ ศรสุธาพรรณ, 2541)
่
ี
่
ั
ิ
ุ
็
ิ
่
ิ
ระบบหลังคาจะประกอบดวยสวนประกอบ 3 สวนคือ สวนหลังคาภายนอก เปนสวนที่สัมผัสกับสภาพแวดลอม
ภายนอกโดยตรง สวนชองอากาศภายใน และสวนฝาเพดาน โดยจากการศึกษาของแลมเบรท (Lamberts. 1988) ในการปรับปรง ุ
ิ
หลังคาเพื่อใหมีการสงผานความรอนมายังพื้นที่ใชสอยนอยที่สุด ตองคำนึงถึงปจจัยตอไปนี้ไดแก 1) การระบายอากาศใหกบ
ั
ชองวางใตหลังคา (Attic) 2) ลักษณะพนผว และสีของหลังคาดานนอก 3) คา Emissivity ของวัสดุในชองใตหลังคา หรือทเรยกวา
่
้
ื
ิ
ี
ี
ั
ี
ระบบปองกันการถายเทรงสความรอน (Radiation Barrier System)
โดยบทความนี้จะมุงเนนไปที่การลดอุณหภูมิผานการระบายอากาศใหกับชองวางใตหลังคา (Attic) เนื่องจาก
ิ
้
ี
ึ
ั
ี
่
ิ
่
ั
ี
ประเทศไทยมีสภาพอากาศทีมฝนตกมาก วธระบายอากาศทฝาชายคา จงไดรบความนยมแพรหลาย เพราะสามารถปองกนนำฝน
รั่วเขาในชองใตหลังคาไดดีกวาการระบายความรอนออกทางหลังคาแบบอื่นๆ (พันธุดา พุฒิไพโรจน, 2551) โดยการทีความรอน
่
จากดวงอาทตยทตกกระทบหลังคานนมบางสวนสะสมอยในอากาศบริเวณพนทใตหลังคา และแผความรอนเขามายังหองดานลาง
ี
่
่
ี
ี
ื
ั
ู
ิ
้
้
่
ั
้
ึ
ั
่
ี
ั
ของฝาเพดาน หลักการระบายความรอนผานชองระบายอากาศทางชายคานันจงตองอาศยแรงลมทปะทะเขากบผนงอาคาร ซงจะ
ึ
มีทิศทางออกไปยังดานขาง และดานบนของผนัง และฝาชายคาจะตองมีชองใหอากาศเขา และชองอากาศออกตามหลักการ
ี
เคลือนทของอากาศ โดยอาศัยการใชประโยชนจากลมธรรมชาติ
่
่
่
่
่
ี
่
ี
รปท 3.2 แสดงการเคลือนทของอากาศเพอระบายความรอนผานทางฝาชายคาดวยลมธรรมชาติ
ู
ื
(ทมา: พนธดา พฒไพโรจน, 2550)
ุ
ี
ิ
ั
ุ
่
47