Page 54 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 54
ู
รปท 3.1 แสดงการลัดวงจรการระบายอากาศ (Ventilation Short Circuiting)
ี
่
ี
่
(ทมา: Pro Home Improvement, 2017)
แนวทางการแกไขการลัดวงจรการระบายอากาศนั้น ทำไดโดย หากมีการระบายอากาศที่สันหลังคา ใหถอดการติดตง ้ ั
้
ั
ชองระบายอากาศอื่น ๆ ใหหมด เนื่องจากสันหลังคาเปนชองทางการระบายความรอนที่ดีที่สุด และอากาศจะออกไปบริเวณนน
งายที่สุด จากการที่อากาศรอนจะเคลื่อนที่ลอยสูงขึ้น และหากมีการระบายอากาศโดยใชเครื่องกลเขาชวย เชน พัดลมระบาย
ั
้
อากาศ ใหถอดการติดตงการระบายอากาศอืน ๆ ออกใหหมดเชนกน
่
ั
เปนที่ยอมรับโดยผูสรางทั่วทั้งอุตสาหกรรม มาตรฐาน Federal Housing Administration (FHA) สำหรับการระบาย
อากาศแบบคงที่ ตามที่พบในขอกำหนดของกระทรวงการเคหะ และการพัฒนาเมืองของสหรัฐอเมริกา (HUD) สำหรับการระบาย
ื
ึ
่
ุ
่
อากาศทเหมาะสม คออตราสวน 1:300 ซงหมายความวาตองมการระบายอากาศหนึงตารางฟุตตอพืนทีหองใตหลังคาทกๆ 300
้
่
ี
่
ี
ั
ี
้
ิ
ตารางฟต นอกจากนตองตรวจสอบวาระบบระบายอากาศนันสมดุล โดยสัดสวนระหวางปรมาณอากาศทีเขา และปริมาณอากาศท ่ ี
ุ
่
้
ี
่
็
ี
่
ระบายออกนั้นตองเปนอยางนอย 50:50 เชน ชองระบายอากาศ 50 เปอรเซนตทฝาชายคา และ 50 เปอรเซ็นตทสันหลังคา (ใน
กรณีที่ไมสามารถปรับสมดุล 50:50 ได ใหจุดระบายอากาศทีฝาชายคาหรือจุดที่เปนทำหนาที่เปนชองอากาศเขามากกวา 50
่
ิ
ึ
ั
เปอรเซนตเสมอ) และปองกนการแทรกซมของอากาศในบรเวณอืน ๆ ของหลังคา (John Nessen, 2014)
่
็
ั
3.2 การพาความรอนแบบบงคบ (Force Convection)
ั
ั
ี
ั
ั
ู
ทฎษฎการพาความรอนแบบบงคบ (Force Convection) นนเปนการลดอุณหภมิบรเวณผิวหนาของวสดุ ซงจะชวย
ึ
ั
่
ิ
้
้
ึ
ู
ั
ในการลดการถายเทความรอนเขาสอาคาร โดยการพาความรอนแบบบงคบจะเกิดขนจากแรงกระทำภายนอก เชนจากพัดลมหรอ
ื
ั
ึ
ิ
้
ปม โดยไมขนกบแรงโนมถวงหรือการลอยตัวของอากาศ และสามารถเกิดขนไดทกทศทาง (วกรม จำนงคจตต, 2545)
ั
ึ
้
ิ
ิ
ุ
การทำความเย็นโดยการพาความรอน (Convection Cooling) เปนวิธีการทำความเย็นใหกับอาคารโดยดึงอากาศ
ี
ภายนอกทีมอุณหภมตำกวาเขามาแทนที่อากาศภายในอาคารทีมอุณหภมิสูงกวา อัตราการเคลือนยายความรอนที่เกิดจากการพา
ู
่
ิ
ู
ี
่
่
่
ั
ี
้
่
ี
ความรอนมสูตรทใชในการคำนวณ ดงน (ASHRAE, 1989)
ี
q = 60 Q ρC ∆T
s
p
ื
ิ
่
ี
q คอ ปรมาณความรอนทอากาศสามารถพาไปได (Btu / h)
s
Q คอ อตราการไหลของอากาศ (cfm)
ั
ื
่
ี
ี
ี
60 คอ จานวนนาททมการไหลของอากาศใน 1 ชวโมง
ื
ํ
ั
่
ื
ี
ρ คอ ความหนาแนนของอากาศ (lbm / ft ) มคาประมาณ 0.075 lbm / ft 3
3
ี
C คอ ความรอนจาเพาะของอากาศ (Btu / lb F) มคาประมาณ 0.24 Btu / lb F
ื
ο
ο
ํ
p
∆T คอ ความแตกตางของอุณหภูมของอากาศภายใน และภายนอก ( F)
ο
ื
ิ
46