Page 56 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 56
ั
้
ั
ในสหรัฐอเมริกา Federal Housing Administration (FHA) ไดมีการกำหนดตังแต ค.ศ. 1942 วาอาคารพกอาศยตองม ี
้
ี
่
ื
้
ี
่
ื
ิ
่
ี
ี
่
้
ึ
ั
พนทการระบายอากาศทพนทใตหลังคา ไมนอยกวา 1:300 และตองมชองระบายอากาศเพมขนเปน 1:150 หากไมมีการใชแผนกน
ี
ิ
ั
่
ี
่
่
ึ
ึ
้
ไอนำ (Vapor retarder) ซงจากงานวจยของ Parker (2005) ไดศกษาความจำเปนของการระบายอากาศทหลังคาบานเพอหาทมา
่
ื
ของกฎหมายที่กำหนดใหเจาะชองระบายอากาศ 1:300 แตไมพบที่มาของตัวเลข อยางไรก็ตาม จากงานวิจัยสามารถสรุปเหตุผล
ของการกำหนดไดวาเปนสิงจำเปนเพอควบคมปญหาความชนสะสมในพนทอากาศหนาวเยน
ื
็
้
ื
่
่
ี
้
ุ
่
ื
สำหรับสภาพอากาศรอนชื้น งานวิจัยของ TenWolde และ Rose (1999) ไดทำการศึกษาการระบายอากาศใตหลังคา
และฝาเพดานในโบสถ สรุปวาการระบายอากาศใตหลังคาเปนเพียงทางเลือกเทานั้น เพราะสามารถลดความรอนไดนอย อีกทง ้ ั
งานวิจัยในไทยของ วิกรม จำนงคจิตต (2545) ที่ทดลองการระบายอากาศใตหลังคาโดยใชพัดลมระบายอากาศที่มีอัตราระบาย
3
3
อากาศที่ 0.18 m /min/W หรือ 253.19 ft /min แทนวิธีการพาความรอน (Convection) แบบการใชลมธรรมชาติพบวาความ
ο
รอนลดลงนอยมาก ประมาณ 0.1-0.2 C ซึ่งไมตางจากการระบายอากาศแบบธรรมชาติ จากงานวิจยของ โชติวิทย พงษเสรมผล
ั
ิ
(2539) ที่ทำการเปรียบเทียบอุณหภูมิภายในหลังคาระบบปด และหลังคาที่มีระบบระบายอากาศ พบวาคาพลังงานความรอนท ่ ี
ถายเทเขามาทางหลังคาระบบระบายอากาศนั้นลดลงประมาณ 8 เปอรเซ็นตเทียบกับหลังคาระบบปด แตยังไมสามารถแสดงให
เห็นวาหลังคาระบบระบายอากาศชวยลดพลังงานความรอนได เนื่องจากขอมูลที่ไดมีตัวแปรสำคัญคือ อุณหภูมิภายในหอง
ู
ี
ุ
้
ั
ั
ุ
ู
้
้
ี
ี
ื
่
เนองจากพบวาอณหภมิภายในหองของหลังคาระบบระบายอากาศนนมคาสงกวาอณหภูมหองของคาระบบปด แตทงนอาจมความ
ิ
คลาดเคลื่อนของขอมูลเนื่องจากไมไดเก็บจากอาคารจำลองเดียวกัน ในชวงเวลาเดียวกัน อยางไรก็ตาม ไดมีงานวิจัยบางชิ้นท ี ่
ั
ิ
ั
่
ึ
สนบสนนวาการระบายอากาศใตหลังคาสามารถลดความรอนเขาสูอาคารได เชน งานวจยของ Beal และ Chandra (1995) ซงถก
ุ
ู
กลาวในการศึกษาของ TenWolde และ Rose (1999) วาการระบายอากาศผานทางฝาชายคาที่มีสัดสวน 1:230 ของพื้นที่ใต
็
หลังคา สามารถลดความรอนทไหลผานหลังคาได 25 เปอรเซนต
่
ี
จากการศึกษาชี้ใหเห็นวาการระบายความรอนในพื้นที่ใตหลังคาโดยอาศัยแรงลมจากธรรมชาตินั้น ไดประสิทธิผลไป
ในทางไมนาพอใจ อยางไรก็ตาม ผลิตภัณฑที่ออกแบบมาเพื่อแกปญหาความรอน ดวยหลักการถายเทความรอนออกจากโถง
ิ
หลังคานั้นยังคงมีอยูมากมาย ทั้งลูกหมุนระบายอากาศ พัดลมดูดอากาศแบบตดหลังคา หรือระบบที่ออกแบบโดยอาศัยหลักการ
เติมอากาศจากภายนอกบาน และนำอากาศภายในบานรวมทั้งพื้นที่ใตหลังคาออกสูภายนอก โดยจากงานวิจัย ของศรัณยา
ศรีพิสุทธิธรรม, ติกะ บุนนาค และปรีดา จันทวงษ (2021) พบวาบานจำลองที่ติดตั้งปลองหลังคาระบายอากาศที่ใชการระบาย
ื
่
ี
ั
อากาศแบบบังคบผาน พัดลมระบายนั้นมคาการนำความรอนผานหลังคาลดลงเมอเทียบกับการระบายอากาศแบบธรรมชาติโดย
อาศัยแรงลอยตัวของอากาศภายในหองใตหลังคา งานวิจัยของ วิทยา พวงสมบัต, จิระศักดิ พุกดำ และดิษฐา นนธิวรวงศ (2564)
ิ
์
่
ี
ั
ึ
่
ซงไดทดสอบบานสองหลังซงหลงหนงมงหลงคาคอนกรตปกตทวไป อกหลังหนงมงหลงคาคอนกรตรวมกบคอนกรตระบายอากาศท ี ่
ี
ี
ึ
ุ
ี
ั
ั
ึ
ั
ิ
่
่
ุ
ึ
่
ั
ติดตั้งพัดลมไฟฟาเซลลแสงอาทิตยโดยตดตั้งอยทางทิศใตของหลังคา พบวากระเบื้องคอนกรีตระบายอากาศที่ติดตังพัดลมไฟฟา
้
ิ
ู
เซลลแสงอาทิตยสามารถสรางจำนวนการเปลี่ยนอากาศภายในหองทดสอบไดในชวง 6-7 ACH (Air Change per Hour) ทำให
อุณหภูมิหองทดสอบมีคาใกลเคียงกับอุณหภูมิอากาศแวดลอม นอกจากนี้บานทดสอบมีคาความรอนผานฝาเพดานต่ำกวาบาน
ทดสอบอางอิงโดยมีคาเปอรเซ็นตการลดความรอนสูงกวา 40 เปอรเซ็นต อีกทั้งงานวิจัยของ C. Nutphuang, S.
Chirarattananon, และ V.D. Hien (2011) ที่ทำการศึกษาการระบายอากาศใตหลังคาผานโปรแกรม CFD (Computational
Fluid Dynamics) พบวาการจำลองการพาความรอนแบบบังคับนั้นสามารถลดการถายเทความรอนผานกระเบื้องหลังคาไดเปน
ั
ิ
ื
อยางดี อุณหภูมความรอนบนแกนเหล็กของหลังคามีอณหภูมิตางกบการพาความรอนแบบธรรมชาติอยางเห็นไดชัดคอ ประมาณ
ุ
10-15 K
ο
48