Page 87 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 87
ุ
6. การอภิปรายผล สรปผลและขอเสนอแนะ
การศึกษาระดับเสียงรบกวนผูปวยภายในโรงพยาบาลที่ใกลกับสถานีรถไฟ กรณีศึกษา: ตึกสงฆอาพาธ โรงพยาบาลโพ
้
ื
ธาราม จังหวัดราชบุรี พบวาการกลาวถึงเสียงรบกวน วารบกวนหรอไมน้นมปจจัยที่ตองศึกษาดงนี (1) ชวงเวลา เปนชวงเวลาท ี ่
ั
ั
ี
ิ
่
่
ื
ี
สมควรทีจะมีเสียงรบกวนหรอไม เชน เวลากลางคืนทเปนชวงเวลาแหงความเงียบ และเปนชวงเวลาทีสามารถไดยนเสียงแวดลอม
่
ชัดกวาชวงเวลากลางวัน (2) กิจกรรม กิจกรรมที่เกิดขึ้นขณะนั้น สามารถมีเสียงรบกวนไดหรือไม เชน การพักผอน ในที่นี้เกด
ิ
ขึ้นกับผูปวยซึ่งเปนกลุมคนที่ตองการการพักผอนมากกวากลุมคนอื่น ๆ (3) ระดับเสียง ขณะนั้นดังเกินกวาที่มาตรฐานกำหนด
หรือไม เนื่องจากระดับเสียงที่เกินกวาคามาตรฐานกำหนดนั้น มักจะสงผลกระทบตอสุขภาพทางรางกายและจตใจ เวลา 21.00-
ิ
ั
07.00 มีความสอดคลองกบการจัดชวงเวลาเงียบภายในโรงพยาบาลสำหรับการนอนพักผอนของผูปวย โดยจะมีรถไฟประมาณ 8
ั
ี
ขบวน ผานสถานีโพธาราม อาจมีระดบเสียงประมาณ 80-100 เดซิเบลเอ ระดับเสียงน้สงผลตอสุขภาพทางรางกายและจิตใจของ
ิ
ั
้
้
มนษย การไดรับเสียงระดับน แมเพยงระยะสัน จะทำใหการไดยินของหเสียไปชวคราว และถาไดรบเสียงนตดตอกนเปนเวลานาน
ี
ี
ั
่
ุ
ู
้
ี
ั
่
่
ี
ี
ู
ิ
ั
หจะพการตลอดไป เมือเทยบคาระดับเสียงทเหมาะสมภายในหอผูปวยในของโรงพยาบาลตามาตรฐานองคการอนามยโลก (WHO)
ที่กำหนดระดับเสียงเฉลี่ยสูงสุดไมควรเกิน 30 เดซิเบลเอ และคาเกณฑเสียงที่เหมาะสมไมควรเกิน 40 เดซิเบล อีกทั้งชวงเวลา
ดังกลาวเปนเวลากลางคืน ทำใหเสียงเดินทางผานอากาศที่มีอุณหภูมินอยกวา ไปยังชั้นบรรยากาศที่มีอุณหภูมิมากกวา เสียงจง ึ
ู
ิ
เดินทางไดไกลกวาตอนกลางวัน เปนเหตุใหผปวยสามารถไดยนเสียงรบกวนชัดกวาเวลากลางวัน
ขอเสนอแนะ
จากผลการศึกษาระดับเสียงรบกวนผูปวยภายในโรงพยาบาลที่ใกลกับสถานีรถไฟ กรณีศึกษา: ตึกสงฆอาพาธ
ื
ี
ี
ั
ุ
้
ี
ั
โรงพยาบาลโพธาราม จงหวดราชบร ในเบองตนเปนเพยงเปนการจดทำตารางเปรียบเทยบกอนทำการทดลองจริง (Pilot Testing)
ั
การจะไดผลของระดับเสียงท่แนนอน ควรทำการวัดดวยเคร่องวัดระดับเสียง (Sound Level Meter) และอาจตองคำนึงถึงปจจย
ื
ั
ี
ื
่
่
อน ๆ เพิ่มเติม เชน ออกเทบแบนด (Octave band) ซึ่งเปนอีกหนึงคาทีใชในการวัดระดับเสียง ความสามารถในการลดเสียงผาน
่
ผนัง (Sound Transmission Class, STC) เวลากังวาน (Reverberation Time, RT) และระดับเสียงพื้นหลัง (Background
ี
ิ
ึ
้
่
ึ
่
Noise) ซงจะนำไปสูการเสนอแนวทางในการลดปญหาระดับเสียงรบกวนทเกดขนได โดยการเสนอแนวทางแกปญหาอาจเปนการ
ั
ั
่
ิ
จดภูมทศน รวมกบการปรับเปลียนเปลือกอาคาร และฝาเพดาน
ั
เอกสารอางอง
ิ
ั
ิ
ี
ี
ั
ิ
กลา มณีโชต . (2541). การศึกษาระดบเสยงและระดบการไดยนของพนักงานขับรถดเซลไฟฟาของการรถไฟแหงประเทศไทย
ั
ิ
ิ
ี
[บทคดยอ]. วทยานพนธมหาบณฑิต. วทยาศาสตร (เทคโนโลยการบริหารสิงแวดลอม) มหาวทยาลยมหดล.
ิ
ั
ั
่
ิ
ิ
ิ
่
จนดารัตน ชยอาจ . (2562). ปจจัยทรบกวนการนอนหลับในโรงพยาบาล: การจัดการโดยไมใชยา.
ั
ี
Nursing Journal, 40, 105-115
ี
ุ
ั
ิ
ิ
ิ
ี
ิ
จฬารตน ศรสิงห ,และศวช ศรโภคางกล . (2562). ผลกระทบจากการกอสรางทางรถไฟทางคทมผลตอชมชนรมทางรถไฟ
ุ
ุ
ั
ี
่
ู
ื
ี
ึ
: กรณศกษาชมชนเทพารักษ อำเภอเมอง จังหวดขอนแกน.
ั
ุ
ิ
ี
ิ
ิ
ุ
ณัฐวุฒ พรศิริ ,และกาญจนา นาถะพนธ . (2561). ระดบเสยงของหนวยบรการผปวยใน โรงพยาบาลสรรพสิทธประสงค
ิ
ู
ั
ั
ั
ึ
ิ
ุ
อบลราชธานี. วารสารวิจย มหาวทยาลัยขอนแกน (ฉบบบณฑิตศกษา), 18(1), 62-71
ั
่
ื
ั
บำรง ชมตา ,อำนาจ ผดุงศลป ,และประศาสน จนทราทิพย . การศึกษาคณภาพสงแวดลอมภายในอาคาร เพอปองกนอาการ
ิ
่
ิ
ุ
ุ
ั
่
่
ึ
ี
ั
เจบปวยเนืองจากสิงแวดลอมในอาคาร: กรณศกษา อาคาร CAT TOWER บางรก กรงเทพมหานคร. 517-530.
ุ
็
ิ
ุ
ั
ุ
ี
ั
ี
ปรชญา รงสรักษ . การควบคมเสยงภายในอาคาร. คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบนเทคโนโลยพระจอมเกลาเจาคณทหาร
ี
ลาดกระบัง, 2541.
79