Page 77 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 77
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการ ดังนี้
ื
ั
1. ช่วงศึกษาข้อมูลจากกรณีศึกษาต่างๆ ท้งต่างประเทศและในประเทศ เพ่อศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเก่ยวกับการพัฒนา
ี
ชุมชนร่วมอยู่อาศัย สร้างขั้นตอนการท�างานและทดลองปฏิบัติออกแบบ
2. วิธีการส�ารวจบริเวณโครงการอสังหาริมทรัพย์บ้านเดียวกัน ท�าการถ่ายภาพทั้งภายนอกและภายในอาคาร วัสดุ
ประกอบภายใน จดบันทึกการจัดวางเคร่องเรือน รูปแบบของเคร่องเรือน บันทึกข้อมูลการจัดวางผังเคร่องเรือนภายในห้องพัก
ื
ื
ื
ด้วยการจดบันทึกต�าแหน่งที่ตั้ง และพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการ
ื
3. วิธีการสัมภาษณ์ ท�าการนัดวันเวลาสถานท่เพ่อท�าการสัมภาษณ์ผู้ร่วมอาศัยหรือเจ้าของบ้าน 3 ครอบครัว เข้าร่วม
ี
สังเกตการณ์ โดยวิธีการบันทึกการสัมภาษณ์ด้วยการจดบันทึก
ั
4. วิธีการท�าแบบสอบถาม แจกแบบสอบถามบุคคลท่วไป ท�าในลักษณะการแจกพร้อมรอรับคืนทันที โดยแจกทั้งหมด
60 ชุด รับกลับคืนทั้งหมด และแบบออนไลน์ 300 ชุดคิดเป็น 100%
วิธีการเก็บข้อมูลทั้งหมดใช้ระยะเวลา 1 เดือน
การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยด�าเนินการ ดังนี้
1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามโดยการหาค่าความถี่และค่าร้อยละ
2. การวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อศึกษาพฤติกรรม กิจกรรม ความต้องการในด้านต่างๆ ลักษณะ
ื
ั
ี
ทางกายภาพท้งภายนอกและภายใน และสภาพปัญหาในการใช้งานพ้นท่ใน โดยวิธีการสอบถามโดยรวมและแจกแบบสอบถาม
โดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3. การวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อศึกษาแนวคิดการออกแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing)
โดยวิธีการแจกแบบสอบถาม โดยการหาค่าความถี่ คะแนนเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4. การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิด โดยผู้วิจัยใช้วิธีการแจกแจงความถี่ ร้อยละ
6. สรุปผลการวิจัย
6.1 สรุปการศึกษา สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้
1. Participatory Process: ใช้กระบวนมีส่วนร่วม
2. Intentional Neighborhood Design: ออกแบบเพื่อนบ้านตามความสัมพันธ์
3. Private Homes & Common Facilities: บ้านส่วนตัวและพื้นที่ส่วนกลาง
4. Resident Management: บริหารโดยชุมชน
5. Nonhierarchical Structure and Decision Making: มีการตันสินใจร่วมกันอย่างเสมอภาค (นิยามโดย
Chris Scotthanson & Kelly Scotthanson, 2004: Denmark) และเป็นรูปแบบที่น�าไปใช้พัฒนาต่อในขั้นตอนต่อไป
ตารางที่ 1 สรุปขั้นตอนการด�าเนินงานที่น�ามาใช้ ในงานวิจัยของโครงการบ้านเดียวกัน
ล�าดับ ครอบครัว จ�านวน พื้นที่ส่วนกลาง
1 (A) 5 ห้องนั่งเล่น ห้องครัว ห้องอาหาร
2 (B) 2 สระว่ายน�้า ห้องน�้า สวน ที่จอดรถ
3 (C) 3
ที่มา: ผู้วิจัย (2558)
Vol. 8 72