Page 73 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 73
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
การวิเคราะห์การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในบ้านแบบร่วมอยู่อาศัยเพื่อคนกรุงเทพมหานคร
The Analysis on the Interior Architectural Design of Co-Housing
Community for People of Bangkok
1
ชนันมน กิจจาธิป จันทนี เพชรานนท์ 2
บทคัดย่อ
ี
ื
ื
งานวิจัยน้มีวัตถุประสงค์เพ่อวิเคราะห์การออกแบบบ้านร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing Community) เพ่อคนกรุงเทพฯ
ซึ่งเป็นลักษณะของที่อยู่อาศัยแบบอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนกรณีศึกษาโครงการ “บ้านเดียวกัน @ลาดพร้าว29” ได้ถูกจัดท�าโดย
ี
ี
สถาบันอาศรมศิลป์ โดยทางสถาบันได้ท�าการศึกษาเอกสารท่เก่ยวข้องและสภาพแวดล้อมทางกายภาพของโครงการ พฤติกรรม
ี
กิจกรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้อาศัยให้สอดคล้องกับการอยู่อาศัยแบบบ้านร่วมอยู่อาศัย การวิจัยน้ ได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูล
จาก การสังเกตสภาพแวดล้อมโดยรอบและสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญและผู้ออกแบบโครงการบ้านเดียวกัน @ลาดพร้าว29 จ�านวน
ั
2 ท่าน และการจัดท�าแบบสอบถามกับกลุ่มคนท่มีทัศนคติสนใจเข้าร่วมโครงการ 3 ครอบครัวและกลุ่มคนท่วไปจ�านวน 60 คน
ี
ื
และท�าการวิเคราะห์ค่าเฉล่ยร้อยละเพ่อสรุปผลเป็นแนวทางการออกแบบชุมชนแบบร่วมอยู่อาศัยเพ่อคนกรุงเทพมหานครต่อไป
ื
ี
ี
จากผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มคนส่วนใหญ่ในเมืองมีความต้องการรูปแบบภายนอกท่มีบริเวณท่จอดรถ มีสภาพแวดล้อม
ี
ี
ื
โดยรอบท่ดีและปลอดภัย และสะดวกต่อการเดินทาง ในขณะเดียวกันสภาพแวดล้อมภายในบ้านต้องมีพ้นท่ใช้สอยบริเวณ
ี
ี
ี
ื
ี
ส่วนรวมขนาดใหญ่กว่าพ้นท่ส่วนตัวโดยเรียงจากมีความต้องการพ้นท่พักผ่อน พ้นท่รับประทานอาหารและห้องนอนตามล�าดับ
ื
ื
ี
ี
ึ
มีความสนใจการร่วมกันลดค่าใช้จ่ายและมีชุมชนเล็กๆ ท่มีความสัมพันธ์ท่ดีร่วมกัน ซ่งผลสรุปการวิจัยน้เพ่อวิเคราะห์การออกแบบ
ื
ี
ร่วมอยู่อาศัยชุมชนร่วมอยู่อาศัย ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนกรุงเทพมหานคร
ค�าส�าคัญ: ชุมชนร่วมอยู่อาศัย วิถีชีวิต
Abstract
The objective of this research is to analyse the interior design of the co-housing community for Bangkok
people. The case study used as reference in this research is ‘@ Ladprao 29 Co-Housing’ project which was
conducted by Arsom Silp Institute of Arts through the studying of the related documents including the records
on the physical environment, behavioral activities, and the lifestyles of those living according to the co-housing
concept. The data collection methods are including the observation of the surrounding environment, the interview
with two experts and designers of @Ladprao 29 project, a focus group interview with three families that have
positive attitudes or willing to join the co-housing program, and a surveys on the sample group of sixty
people. Then the gathered data will be analyzed into average percentage to summarize the result which will
be used as reference for the community design in the future.
The results of this study have shown that most of the people need parking area, safe environment,
and convenient transportation. The sample group also prefers the public area within the house to be larger
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
2 ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 8 68