Page 74 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 74
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
than the private quarters by giving priority to the recreational area, followed by the dining area, and the bedrooms.
This arrangement is based on their mutual interest in reducing their living cost while having a small and
friendly community. The finding from this research will be a guideline for the co-housing community that suit
the lifestyles of the people of Bangkok in the future.
Keywords: Community and Lifestyle, Co-housing Community
1. บทน�า
โลกมีการเปล่ยนแปลงอย่างรวดเร็วสังคมเมืองมีการใช้เทคโนโลยีท่ทันสมัยมากข้นจนกลายเป็นโลกแห่งเทคโนโลย ี
ึ
ี
ี
ึ
ิ
�
การใช้พลังงานท่ส้นเปลืองมากข้น ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติทาให้พลังงานจากธรรมชาติเร่มหมดไปจึงต้องหา
ิ
ี
แนวทางการด�ารงชีวิตอย่างยั่งยืนในโลกาภิวัตน์นี้จะอยู่อย่างไรให้ยั่งยืนและพอเพียง
ั
ิ
แนวทางการดารงชีวิตอย่างย่งยืนเป็นการอยู่กับส่งแวดล้อมและนาเทคโนโลยีในปัจจุบันมาปรับเข้าด้วยกันโดยการ
�
�
ใช้พลังงานที่ธรรมชาติสร้างมาใช้กับการด�ารงชีวิตประจ�าวันไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัยพลังงานต่างๆ เช่น น�้า กระแสลม ไฟฟ้า
ใช้เท่าที่จ�าเป็น ถ้ามีสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ทั้งภายนอกและภายในก็มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อสร้างชุมชนแบบอย่างชุมชน
ี
ร่วมอยู่อาศัยเป็นอีกหน่งแนวทางของรูปแบบวิถีการอยู่อาศัยท่สะท้อนถึงความเป็นไปได้ในการคล่คลายปัญหาต่างๆ (ปาสิตา
ี
ึ
ศรีสง่า, 2015, หน้า 3) ที่เราเผชิญอยู่ เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่สามารถหล่อหลอมเยาวชนให้เติบโตขึ้นอย่างมีความ
รับผิดชอบต่อส่วนรวม ความเสียสละ เอื้อเฟื้อ มีน�้าใจ เพื่อประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ายได้อย่างเป็นธรรมชาติ
ี
ี
แนวทางการศึกษาชุมชนร่วมอยู่อาศัยให้สอดคล้องกับความต้องการของคนกรุงเทพมหานคร เป็นท่พักอาศัยท่มีการ
ี
ใช้พลังงานจากธรรมชาติร่วมกับเทคโนโลยีท่เพียงพอกับความจาเป็น มีระบบการจัดการท่ท�าให้คนเมืองสามารถอยู่อย่าง
�
ี
�
ี
พอเพียงได้และประหยัดทรัพยากรท่ไม่จาเป็นหรือฟุ่มเฟือย สามารถเป็นบ้านแบบอย่างในอนาคตได้อย่างสมบูรณ์แบบ เป็นการ
ี
�
ิ
ื
ื
สร้างสังคมจากกลุ่มเพ่อนบ้านท่มีแนวคิดของการเก้อกูลช่วยเหลือกันและการลดการใช้ทรัพยากร การแชร์ส่งอานวยความสะดวก
ต่างๆ ร่วมกัน เช่น ห้องส่วนกลาง ห้องครัว เป็นต้น (The Cohousing Association of the United States, 2014)
ิ
�
ในขณะท่บ้านพักอาศัยท่ยังคงกรรมสิทธ์ของแต่ละบุคคล มีสมดุลระหว่างความเป็นส่วนตัวและการอยู่ร่วมกัน มีการทากิจกรรม
ี
ี
ด้วยกัน ความสมดุลจะขึ้นอยู่กับการตกลงร่วมกันของสมาชิกในชุมชน (Kathryn Mc Camant and Charles Durrett, 1997)
และสอดคล้องกับเป้าหมายในการด�ารงชีวิตของผู้อยู่อาศัยในชุมชน และมีการก�าหนดเป้าหมายร่วมกันในการอยู่อาศัย เช่น
เป็นชุมชนประหยัดพลังงานอีกด้วย
�
งานวิจัยช้นน้จึงเกิดข้นเพ่อวิเคราะห์กระบวนการออกแบบบ้านร่วมอยู่อาศัย ให้เกิดปัจจัยสาเร็จของชุมชนร่วมอยู่อาศัย
ึ
ื
ี
ิ
ท่สอดคล้องกับสังคมไทยในปัจจุบันอันมีวิถีการดาเนินชีวิตท่เปล่ยนแปลงไปจากสังคมไทยในอดีตท้งในด้านทัศนคติของผู้ท ี ่
ั
ี
ี
�
ี
ต้องการมีบ้านวัฒนธรรมครอบครัวเด่ยวท่แยกกันอยู่ โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย
ี
ี
ที่มีความต้องการที่อยู่อาศัยในแนวคิดชุมชนร่วมอยู่อาศัยเพื่อคนกรุงเทพมหานคร
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการออกแบบบ้านแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัยเพื่อคนกรุงเทพมหานคร
ี
ื
2.2 เพ่อศึกษากิจกรรม พฤติกรรมการใช้งาน และความต้องการของท่พักอาศัยภายใต้แนวความคิด ท่อยู่อาศัย
ี
แบบชุมชนร่วมอยู่อาศัยเพื่อคนกรุงเทพมหานคร
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
69 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.