Page 76 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 76
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ี
ึ
ื
ั
ในการศึกษาคร้งน้ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามท่สร้างข้นเป็นเคร่องมือในการศึกษาภาคสนาม โดยเคร่องมือในการวิจัยน ี ้
ื
ี
ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบส�ารวจ และแบบสอบถาม โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การสัมภาษณ์
1.1 การสัมภาษณ์ (ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ) เป็นแบบไม่มีโครงสร้าง แบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
เริ่มจากประวัติความเป็นมา และกฎระเบียบ รูปแบบบ้าน กิจกรรม สภาพปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
แนวทางแก้ไขปัญหา
2. แบบส�ารวจด้านกายภาพ
ื
�
ื
เป็นแบบสารวจด้านกายภาพของโครงการ บ้านเดียวกัน ขนาดพ้นท่ ผังการจัดวางเคร่องเรือน รูปแบบเคร่องเรือน
ี
ื
และวัสดุ และรูปแบบการตกแต่งภายในบ้านของกรณีศึกษา
2.1 กล้องถ่ายรูป ใช้ในการเก็บข้อมูลภาพถ่ายทัศนียภาพภายนอกอาคาร และทัศนียภาพภายในพ้นท่ใช้สอย
ี
ื
ส่วนรวม
3. แบบสอบถาม
แบบสอบถามจะเป็นการสร้างค�าถามเพื่อตอบวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อสอบถามข้อมูลพื้นฐาน พฤติกรรม
ื
ั
ั
ี
ของผู้ใช้โดยท่วไป ความต้องการพ้นฐาน ทัศนคติ ท้งภายในและภายนอกอาคาร ทัศนคติต่อการออกแบบเก่ยวกับสถาปัตยกรรม
ื
้
่
้
่
้
ี
ิ
่
ิ
่
ิ
ี
ั
�
ื
ึ
่
ึ
�
การคานงถงสงแวดล้อม การจดพนทต่างๆ และสงอานวยความสะดวกทตองการเพมเตม และสภาพปญหาในการใชงานพนท ่ ี
ิ
้
ั
�
ี
ู
ในปัจจุบันของผู้อาศัย โดยมุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของคาถามเพ่อนาผลท่ได้ไปเสนอแนะแนวทางการออกแบบบ้านแบบอย่ร่วมกัน
�
ื
ส�าหรับคนกรุงเทพมหานคร โดยประเด็นค�าถามนั้น จะแบ่งออกเป็นค�าถามแบบปลายเปิด (Open Ended) และค�าถามแบบ
ปลายปิด (Close Ended) โดยแบบสอบถามมีทั้งหมด 6 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบบส�ารวจด้านพฤติกรรมของผู้ใช้งาน
ส่วนที่ 2 แบบส�ารวจความต้องการด้านการมีส่วนร่วม พื้นที่ใช้สอยส่วนรวม ส่วนกลาง
ส่วนที่ 3 แบบส�ารวจความต้องการรูปแบบอาคารภายนอก
ส่วนที่ 4 แบบส�ารวจความต้องการรูปแบบสภาพแวดล้อมภายใน
ส่วนที่ 5 แบบส�ารวจความต้องการด้านแนวคิดการประหยัดพลังงาน
ส่วนที่ 6 ข้อมูลทั่วไปของผู้กรอกแบบสอบถาม
การทดสอบเครื่องมือการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้น�าเสนอแบบสอบถามไปปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อ
�
�
พิจารณาเน้อหาตลอดถึงความยากง่ายของภาษาท่ใช้ และนาเคร่องมือวิจัยไปทางานศึกษานาร่อง โดยทาการทดสอบกับประชาชน
ี
�
ื
�
ื
กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีความต้องการอยู่อาศัยในแนวคิดชุมชนร่วมอยู่อาศัย โดยใช้แบบสอบถาม
�
ี
ี
�
จานวน 60 ชุด ทาการทดสอบความเท่ยงตรงของแบบสอบถาม ข้อมูลท่ได้จากแบบสอบถามถูกนามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา
�
คือ ความถี่ ร้อยละ เพื่อหาข้อบกพร่องของเครื่องมือวิจัย และท�าการปรับปรุงให้สอดคล้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การวิจัย
ก่อนจะน�ากับไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
71 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.