Page 83 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 83
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
3. การออกแบบให้เกิดภาวะน่าสบาย ลดความร้อนในอาคาร มีการระบายอากาศท่ดีการปรุงแต่งสภาพแวดล้อม
ี
โดยรอบอาคาร เป็นข้นตอนแรกท่ผู้ออกแบบควรพิจารณา ซ่งมีผลท�าให้สามารถลดภาระในการท�าความเย็นให้กับตัวอาคารได้
ึ
ี
ั
(ชุดการจัดแสดงที่ 38 คุณลักษณะของอาคาร Building Features หน้า 4 จาก 45)
์
ี
่
่
้
ุ
ี
่
ี
ื
ุ
ั
้
ิ
่
4. การออกแบบทมการเลอกใชวสดอปกรณในการกอสรางทลดมลพษตอสงแวดลอมใหมากทสด ตวอยาง เชน
ี
ุ
่
่
ั
ิ
่
่
้
้
ี
ั
- การใช้อิฐมวลเบา มีประสิทธิภาพท่ดีกว่าอิฐมอญและอิฐบล็อค ท้งกันความร้อน กันเสียง ทนไฟ น้าหนักเบา
�
ประหยัดพลังงาน ใช้งานง่าย และมีอายุการใช้งานนานกว่า 50 ปี
- การใช้ปูนซีเมนต์ท่มีการผลิตท่ช่วยลดปริมาณคาร์บอนในอากาศ ลดการใช้พลังงาน ได้ผลิตภัณฑ์ฉลากคาร์บอน
ี
ี
- การใช้วัสดุทดแทนไม้ ลดการท�าลายธรรมชาติ
ั
ี
- การใช้สีทาอาคารท่ไม่มีสารตะก่ว ปรอท มีฟิล์มสะท้อนความร้อนลดอุณหภูมิในอาคาร มาตรฐานฉลากเขียว
- การใช้สุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องน�้าที่ช่วยลดปริมาณการใช้น�้าให้มากที่สุด
- การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เบอร์ 5 การใช้หลอด LED เป็นต้น
7. สรุปแนวทางการออกแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing) ภายใต้แนวคิดการประหยัดพลังงาน
1. สรุปแนวทางในการออกแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing) ภายใต้แนวคิดการประหยัดพลังงาน จากการวิเคราะห์
โครงการบ้านเดียวกัน โดยสถาบันอาศรมศิลป์ กิจกรรม พฤติกรรม ความต้องการต่างๆ ของผู้เข้าอยู่อาศัยจริง
ี
ึ
2. รูปแบบสภาพแวดล้อมภายใน จะเห็นได้ว่าการพัฒนาชุมชนร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing) มีการเปล่ยนแปลงเกิดข้น
ี
ื
ื
อยู่ตลอดเวลา ข้นอยู่กับครอบครัว ความต้องการพ้นท่ใช้งาน ความเป็นส่วนตัว ข้อจ�ากัดเร่องเวลาต่างๆ ต้องการความคิดเห็น
ึ
ื
จากสมาชิก ถึงทางออกอ่นๆ ในการจัดการแก้ไขปัญหาได้การน�าเสนอพื้นท่ใช้สอยร่วมกัน รูปแบบแนวทางการออกแบบ
ี
ภายใน วัสดุตกแต่ง ขนาดพื้นที่ล้วนมีผลในการร่วมออกแบบบ้านให้เป็นไปอย่างเท่าเทียมเพื่อหาทางออกร่วมกัน
8. ข้อเสนอแนะ
ื
จากการศึกษาวิจัยเร่องแนวทางการออกแบบ การออกแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัย (Co-Housing) ภายใต้แนวคิดพลังงาน
จากธรรมชาติ กรณีศึกษาบ้านเดียวกัน @ลาดพร้าว29 โดยสถาบันอาศรมศิลป์ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ และสังเกตเห็นถึงลักษณะ
ของผู้ที่ตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ บ้านเดียวกัน พบว่าได้มีการออกแบบจัดวางพื้นที่ภายนอกอาคารบางส่วนที่ยังจัดได้ว่ายัง
ไม่เหมาะสมกับการใช้งานของพื้นที่นั้นๆ พื้นที่ภายในห้องต่อจ�านวนผู้พักอาศัยยังไม่เหมาะสม พื้นที่โถงทางเดินเล็ก การมี
สิ่งอ�านวยความสะดวกในพื้นที่ส่วนกลาง จากปัจจัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านความสะอาด
และด้านความปลอดภัย ให้แนวคิดว่าในการตัดสินใจ การสร้างทางเลือกของรูปแบบท่อยู่อาศัยด้านกายภาพ กติกาชุมชน
ี
ื
และรูปแบบการอยู่อาศัยร่วมกันในด้านกิจกรรมของกลุ่มสมาชิกโดยใช้กิจกรรมต่างๆ เพ่อน�าไปสู่ข้อสรุปท่ออกมาเป็นพ้นท ่ ี
ี
ื
ทางกายภาพเพื่อการอยู่อาศัยร่วมกัน ก่อให้เกิดบรรยากาศในการพัฒนาให้เป็นไปในทางที่พึงประสงค์
จากการส�ารวจความต้องการ การออกแบบชุมชนร่วมอยู่อาศัย บ้านเดียวกัน @ลาดพร้าว29 โดยสถาบันอาศรมศิลป์
ั
ี
ั
ี
่
ี
ั
้
่
่
ี
่
ี
่
่
พบวา สวนใหญมความตองการบานทมการตกแตงทงภายนอกและภายในอาคารททนสมย มการใชแนวคดการประหยดพลงงาน
้
้
้
ั
ิ
ั
ั
่
ิ
ี
�
ิ
่
ิ
ื
ี
่
ื
ในการออกแบบ ต้องการพ้นทจอดรถเพมเตม ต้องการขนาดพนทห้องพักใหญ่ ต้องการส่งอานวยความสะดวกทครบครน
้
่
ี
ี
การรักษาความปลอดภัยท่เข้มงวด มีการรักษาความสะอาดทุกวัน โดยเฉพาะมีการแยกขยะแต่ละประเภท และการสร้าง
ความเป็นส่วนตัวในห้องพัก ดังที่ ผุสดี ทิพทัส (2541: 31) ได้กล่าวว่า “ผู้ออกแบบต้องอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของ
ื
ี
ั
ผู้ใช้สอยเน้อท่น้นๆ เพ่อท่จะทราบได้ว่า ผู้ใช้สอยแต่ละส่วนมีมากน้อยเพียงใด มีความถนัดและความเคยชินอย่างไร โดยเฉพาะ
ื
ี
อาคารประเภทที่พักอาศัย เช่น บ้าน ผู้ออกแบบควรจะต้องทราบเกี่ยวกับนิสัยความประพฤติ ความชอบ อาชีพ อายุ เพศ
ของผู้ที่จะอยู่อาศัยเป็นประจ�า จะสะท้อนถึงความรู้สึกอันเป็นส่วนตัวของเจ้าของบ้านต่อสภาพสังคมภายนอก การออกแบบ
Vol. 8 78