Page 86 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 86
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
The research found that there is a shortage of the amenities within market including the label facilities,
parking ramps, stairs, corridors, the substandard toilets, and the constructions which lack of knowledge and
correct understanding toward the elderly’s needs. In addition to the basic amenities, they also need space to
relax and zone management to create the suitable atmosphere for the elderly. The results of this finding can
lead to further design guideline of the built environment of the bazaar so that seniors can have access to
safer and more convenient marketplace.
Keywords: The Elderly, Market, Bazaar, Interior Environmental
บทน�า
ปัจจุบันประเทศไทยก�าลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยจากข้อมูลทางสถิติพบว่าในปี พ.ศ. 2557 มีการเพิ่มขึ้นของ
ื
ผู้สูงอายุร้อยละ 14.9 และมีดัชนีการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุอย่างต่อเน่อง โดยคาดว่าในปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคม
ี
ิ
�
ึ
�
สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2557) การเพ่มข้นของจานวนและสัดส่วนผู้สูงอายุ ส่งผลในเกิดการเปล่ยนแปลง
ทางด้านโครงสร้างของด้านสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทาให้ต้องมีการเตรียมความพร้อมกับการเปล่ยนแปลงในด้านต่างๆ
�
ี
ี
ี
ึ
ื
�
โดยเฉพาะ ความพร้อมด้านสถานท่อยู่อาศัย สถานท่ประกอบกิจกรรมต่างๆ ซ่งเป็นองค์ประกอบพ้นฐานในการดารงชีวิต
ิ
�
ให้เกิดความเท่าเทียมในการเข้าถึงทางสังคม จึงควรมีการจัดสรรพ้นท่และส่งอานวยความสะดวกท่จาเป็นต่อผู้สูงอายุในทุกพ้นท ี ่
ื
ี
ี
�
ื
ื
ี
�
�
�
ิ
สอดคล้องกับกฎกระทรวงท่ว่าด้วยเร่อง การกาหนดส่งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา
ื
�
ี
ี
ั
ี
โดยอาคารท่มีลักษณะตามข้อกาหนดและอาคารท่มีพ้นท่ส่วนท่เปิดให้บริการแก่บุคคลท่วไปเกิน 2000 ตารางเมตรต้องจัด
ี
ส่งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา โดยแบ่งออกเป็น 8 ส่วนหลัก คือ ป้ายแสดง
�
ิ
�
ิ
�
ี
ส่งอานวยความสะดวก ทางลาดและลิฟต์ บันได ท่จอดรถ ทางเข้าอาคาร ทางเดินระหว่างอาคารและทางเช่อมระหว่างอาคาร
ื
�
�
ประตู ห้องส้วมและพ้นผิวต่างระดับ เพ่ออานวยความสะดวกในการใช้อาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา
ื
ื
(กฎกระทรวง. ก�าหนดสิ่งอ�านวยความสะดวกในอาคารส�าหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548)
“ตลาดสด” ถือศูนย์กลางทางการค้าท่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของคนในชุมชน ตลาดสดเป็นองค์ประกอบ
�
ี
�
ื
สาคัญข้นพ้นฐานในโครงสร้างการจัดหาบริการให้กับชุมชนเมือง ตลาดสดกับชุมชนเมืองจึงเกิดข้นและพัฒนาควบคู่กันไป
ึ
ั
�
(เกียรติ จวะกุลและคณะ. 2525) นอกจากน้ ตลาดยังเป็นตัวสะท้อนถึงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย
ี
ิ
ื
โดยในแต่ละวันมีผู้คนเข้ามาใช้บริการจับจ่ายซ้อสินค้าภายในตลาดสดบริเวณเป็นจานวนมาก และเม่อมีผู้เข้ามาใช้พ้นท่เป็น
ื
�
ื
ี
จานวนมากจึงทาให้เกิดปัญหาตามมาจากบุคคลท่มีลักษณะแตกต่างกัน มีความต้องการท่แตกต่างกัน ดังนั้น การจัดสรรพ้นท ่ ี
ื
�
�
ี
ี
ึ
ึ
ต่างๆ ให้มีความเหมาะสมกับทุกคมในสังคม ถือเป็นทางออกในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซ่งกลุ่มผู้สูงอายุถือเป็นบุคคลกลุ่มหน่ง
ี
ั
ี
ื
ี
ื
ท่เข้ามาใช้พ้นท่ภายในตลาดสดเป็นจานวนมาก อีกท้งยังเป็นกลุ่มท่มีความเส่ยงในการเกิดอุบัติเหตุสูง เน่องจากผู้สูงอาย ุ
ี
�
มีความเสื่อมและถดถอยทางร่างกายร่วมกับปัจจัยสิ่งแวดล้อม เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ พื้นไม่เรียบ เปียก เป็นต้น (วีรศักดิ์
ี
เมืองไพศาล. 2557) โดยอุบัติเหตุท่พบมากในผู้สูงอายุเป็นอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มมากท่สุด ร้อยละ 35.4 และผลของอุบัติเหต ุ
ี
ั
ยังนาไปสู่ความพิการทางร่ายกายและผลเสียทางด้านจิตใจ ดังน้นจะเห็นได้ว่าการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุจึงเป็น
�
เรื่องที่ส�าคัญยิ่ง (กระทรวงสาธารณสุข, กรมการแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2541) จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงเป็น
ื
ท่มาของโครงการวิจัยเร่อง ปัญหาและความต้องการสภาพแวดล้อมภายในตลาดสดของผู้สูงอายุ เพ่อนาไปสู่แนวทางการออกแบบ
ี
ื
�
สภาพแวดล้อมภายในตลาดสดเพื่อผู้สูงอายุ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
81 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.