Page 121 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 121

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







             ตารางที่ 1 ค่าระดับความถี่ความเร็วลมสูงสุดและความเร็วลมต�่าสุดภายใน 1 ปีของทิศต่างๆ
              ความเร็วลม(%)   ระดับ (ทิศ)   (N)    (NE)    (E)   (SE)    (S)   (SW)    (W)    (NW)   รวม

                                  A         4.3    9.2     7.4    2.7    7.4    5.3    11.2    2.8   50.3
                   สูง            B         0.7    5.7     3.7    0.6   14.2    9.0    5.6     2.3   41.8
                                  C         0.0    0.8     0.4    0.1    4.5    3.2    1.6     0.5   11.1
                                  A         0.1    0.0     0.9    1.0    1.8    1.7    0.2     0.3     6

                   ต�่า           B         0.0    0.0     0.0    0.1    3.5    0.8    0.0     0.0    4.4
                                  C         0.0    0.0     0.0    0.0    0.7    0.0    0.0     0.0    0.7

             ที่มา: ผู้วิจัย (2561)


                        จากตารางที่  1  จะพบว่าความถี่ของความเร็วลมที่ระดับ  A  จะมีเปอร์เซ็นต์เกิดขึ้นสูงสุด  เมื่อศึกษางานวิจัย

                                          ื
               ี
                                                                                ี
             เก่ยวกับอัตราความเร็วลมในเขตร้อนช้น (Olgyay, V., (1969) ได้แบ่งระดับความเร็วลมท่มีส่งต่อความรู้สึกของมนุษย์ไว้ด้งนี ้
                        0.00-0.25 m/s  จะไม่รู้สึกหรือสังเกตได้
                        0.25-0.50 m/s  รู้สึกสบาย
                        0.50-1.00 m/s  รู้สึกสบาย โดยสามารถรับรู้ว่ามีการเคลื่อนไหวของอากาศ
                        1.00-1.50 m/s  รู้สึกมีลมพัดเล็กน้อย จนถึงรู้สึกถูกรบกวนได้
                        >1.50 m/s    รู้สึกว่าถูกรบกวน

                        จากงานวิจัยดังกล่าว  จึงได้ค่าระดับความเร็วของลมประจ�าทิศของกทม.  ที่ใช้เป็นตัวแปรในการทดลอง  ซึ่งใช้
             ค่าสูงสุดของช่วงระดับความเร็วลม  ที่ระดับ  A  คือ  5.39  km/h  (1.50  m/s)  เป็นช่วงความเร็วลมที่มนุษย์รู้สึกถูกรบกวนได้
             ดังนั้นจึงต้องศึกษารูปแบบของกระแสลมเมื่อผ่านสิ่งกีดขวาง เพื่ออธิบายลักษณะของลมที่เปลี่ยนแปลงเมื่อผ่านผังโครงการ

                    3.3  รูปแบบของกระแสลมเมื่อผ่านสิ่งกีดขวาง

                        กระแสลมเกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ โดยจะเคลื่อนที่จากที่มีความกดอากาศสูงไปสู่ที่ที่มีความ
             กดอากาศต�่า  และจะเคลื่อนที่จากที่ที่มีอุณหภูมิต�่าไปที่ที่มีอุณหภูมิสูง  เพราะอากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะลอยตัวขึ้น  และจะถูก
                                                                               ่
                                                                                                  ื
                                   ิ
                                                                                                  ่
                                                                               ื
                                    �
                                    ่
                                               ิ
                                                                  ็
                                             ื
                                                            ั
                                                               ่
                                                           ์
                                         ้
                                         ั
                                       ั
                                             ่
                                                                      ิ
                                                                        ็
                                  ู
                  ่
                  ี
                   ้
             แทนทดวยอากาศทมอณหภมตา ดงนน เมอเกดปรากฏการณดงกลาวกจะเกดเปนการเคลอนทของกระแสลมและเมอกระแสลม
                                                                                   ี
                                                                                   ่
                            ี
                            ่
                             ี
                              ุ
                 ิ
                                                            ี
             ผ่านส่งกีดขวางต่างๆ ก็จะเกิดลักษณะของรูปแบบการเคล่อนท่ของกระแสลมเป็น 4 รูปแบบ (อรุณโรจน์ สิริโภควิบูลย์, 2557)
                                                         ื
             คือ Laminar Separated Turbulent Eddy กล่าวคือ
                                                                                                          ็
                                                                  ั
                                                                                        ี
                                                                                        ่
                                   ่
                        3.3.1  การเคลอนท่ในลกษณะราบเรียบ  (Laminar)  ลกษณะการเคล่อนทของไหลทเป็นเส้นตรง  มความเรว
                                       ี
                                                                                ี
                                                                                ่
                                   ื
                                          ั
                                                                                                    ี
                                                                             ื
             ในการเคลื่อนที่ต�่า และราบเรียบเสมอกัน
                                                                               ื
                                                                                   ี
                                                                                             ี
                                       ี
                        3.3.2  การเคล่อนท่แบบแปรปรวน  (Turbulence)  เป็นลักษณะการเคล่อนท่  กระแสลมท่มีความแปรปรวน
                                   ื
             โดยทั่วไปลมที่พัดผ่านวัตถุต่างๆ ในสภาพแวดล้อมหนึ่งๆ มักจะเป็นการพัดแบบ Turbulence เป็นส่วนใหญ่
                                           ั
                        3.3.3  การไหลแบบแยกช้น (Separated) เกิดข้นในกรณีท่ลมเคล่อนผ่านวัตถุ เกิดการแบ่งช้นตาม แรงเสียดทาน
                                                           ึ
                                                                        ื
                                                                                           ั
                                                                   ี
             ที่ผิววัตถุ หรือแบ่งชั้นความสูงตามแรงเสียดทานที่เกิดจากมวลลมรวม ที่กระท�าต่อชั้นความสูงต่างๆ ซึ่งท�าให้ความเร็วของ
             กระแสลมในแต่ละระดับความสูงไม่สม�่าเสมอกัน
                                                                                  ี
                                                                                     ื
                                                                                        ี
                        3.3.4  การเคล่อนท่แบบหมุนวน (Eddy) ลมท่มีค่าความเร็วลมตาผ่านเข้าสู่พ้นท่ใดพ้นท่หน่งแล้ว เกิดการหมุนวน
                                      ี
                                                                                          ึ
                                                                       ่
                                                                       �
                                   ื
                                                                                ื
                                                          ี
                                                                                                         ั
                                    ี
                                     ่
             อยู่ท่เดิมในอัตราความเร็วลมท่ตามาก ซ่งทาให้ไม่เกิดการแลกเปล่ยนมวลสารใดๆ หรือไม่เกิดการระบายอากาศในบริเวณน้น
                 ี
                                             �
                                                               ี
                                     �
                                           ึ
             Vol. 9                                       114
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126