Page 117 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 117

Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018
                                                  th




























                       รูปที่ 1 แสดงผลการทดลองการไหลผ่านพื้นที่ต่างๆ ของลมในโครงการบ้านเอื้ออาทร ร่มเกล้า 2
                   ที่มา: ศิรินพ สุขพัฒนนิกุล, การปรับปรุงอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรเพื่อให้เกิดภาวะน่าสบายโดยวิธีธรรมชาติ
                                  กรณีศึกษา โครงการบ้านเอื้ออาทรชุมชนร่มเกล้า (2554), หน้า 56



                                                                      �
                                                            �
                    การจะพิจารณาการระบายอากาศด้วยลมธรรมชาติจาเป็นจะต้องคานึงถึงลักษณะของลมท่กระทาต่อพ้นท่ท่จะเก็บ
                                                                                         ี
                                                                                                  ื
                                                                                             �
                                                                                                     ี
                                                                                                    ี
             ข้อมูล โดยในบริเวณท่ระดับความสูงมากข้น ความเร็วลมก็ย่งแรงข้น จนถึงระดับหน่งความเร็วจะคงท่และจะเป็นความเร็วลม
                                             ึ
                              ี
                                                          ิ
                                                                                         ี
                                                               ึ
                                                                            ึ
             สูงสุดปกติของพื้นที่บริเวณนั้น และความเร็วสูงสุดคงที่นี้เรียกว่า Gradient Velocity และระดับความสูงที่เรียกว่า Gradient
             Hight  นอกจากนี้ความเร็วลมในแต่ละพื้นที่ก็จะมีความเร็วลมต่างกัน  ทั้งนี้เนื่องจากพื้นผิวของดินมีความฝืด  ดังนั้นลักษณะ
                                ิ
                                                                                   ิ
                                                                                        ี
                                                                                 ั
                                          ิ
                                                ี
             ของผิวดินต้นไม้ใบหญ้า ส่งปลูกสร้าง ส่งเหล่าน้ล้วนเป็นสาเหตุในการลดความเร็วของลมท้งส้น ลมท่ระดับผิวดินจะมีความเร็ว
             ต�่ากว่าลมที่ระดับสูงเสมอและพื้นที่ผิวขรุขระจะเป็นตัวหน่วงความเร็วลมได้กว่าผิวเรียบ (วรากร สงวนทรัพย์, 2547)
                                                                        ี
                    จากทฤษฎีการเรียงตัวของกลุ่มอาคาร (สุบิน วงศฟั่น, 2547) อาคารท่กระแสลมพัดผ่านจะทาให้เกิดบริเวณความกด
                                                                                         �
             อากาศต�่าขึ้นทางด้านประชิดของด้านปะทะลม  และทางด้านใต้ลมเนื่องจากลมไหลข้ามไป  ซึ่งบริเวณความกดอากาศต�่าจะมี
             เนื้อที่ค่อยๆ น้อยลงตามระยะห่าง อันเกิดมาจากการที่อากาศค่อยๆ เข้ามาแทนที่ตามล�าดับ โดยระยะห่างของช่วงความกด
             อากาศตาน้ จนถึงช่วงท่อากาศเร่มเข้ามาแทนท่ จะใช้ระยะประมาณ 2 เท่าของความสูงและลมจะมีความเร็วเท่ากับความเร็วเดิม
                   �
                                     ิ
                      ี
                   ่
                                                ี
                               ี
                                                        ึ
                                                                                  ี
                                                                              ื
                                                                                         ี
             ก่อนผ่านอาคาร จะใช้ระยะประมาณ 7 เท่าของความสูง ซ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการเคล่อนท่ของลมท่พัดผ่านอาคารภายนอก
                                                    ี
             เม่อเกิดการปะทะ ณ ด้านใดด้านหน่ง จะเกิดพ้นท่ท่ถูกบังลมข้นในด้านตรงข้าม ซ่งมีสัดส่วนระยะความกว้างของพ้นท่เงาลม
                                                            ึ
                                                                           ึ
                                                   ี
               ื
                                        ึ
                                                                                                      ี
                                                                                                   ื
                                                ื
             แตกต่างกันตามระยะความสูง ต่อความลึกของอาคาร ต่อระยะบังลม ในอัตราส่วน 1:2:3 (อรุณโรจน์ สิริโภควิบูลย์, 2557)
                    ดังน้นจากปัญหาข้างต้นเพ่อให้เข้าใจถึงการกระจายตัวของกระแสลมรอบผังของโครงการได้ในมิติท่เพ่มข้น  ผู้วิจัย
                        ั
                                                                                                    ึ
                                         ื
                                                                                               ี
                                                                                                 ิ
                                                                               ึ
                    ี
             จึงสนใจท่จะนากระแสลมท่มีอยู่โดยรอบของโครงการซ่งเป็นกระแสลมประจาทิศท่เกิดข้นในกรุงเทพมหานครมาแสดงเพ่อใช้
                                                                           ี
                                                                      �
                                 ี
                                                      ึ
                        �
                                                                                                        ื
             เป็นข้อมูลในการศึกษาพฤติกรรมของลมในแต่ละทิศที่มากระท�ากับผังของโครงการบ้านเอื้ออาทรร่มเกล้า 2 จนส่งผลกระทบ
             กับตัวอาคารที่อยู่ทางด้านใต้ของกระแสลม  ซึ่งหวังว่าผลการทดลองที่ได้สามารถอธิบายลักษณะของบริเวณที่มีกระแสลมต�่า
                    ื
                                                                   ี
             ภายในพ้นท่ของผังโครงการกลุ่มอาคารชุดและเป็นการใช้กระแสลมท่มีอยู่ในพ้นท่ให้เกิดประโยชน์กับตัวอาคารภายในผัง
                                                                            ี
                                                                          ื
                      ี
                                   ี
                          ี
                                                              ี
                                                                      ื
                                                                        ี
             โครงการให้มากท่สุด จึงเป็นท่มาของงานวิจัย พฤติกรรมของลมท่ส่งผลต่อพ้นท่ภายในผังโครงการอาคารพักอาศัย กรณีศึกษา
             กลุ่มอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรร่มเกล้า 2
             2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                    อธิบายรูปแบบการเคลื่อนที่ของกระแสลมที่เปลี่ยนแปลงเมื่อกระท�ากับผังโครงการในแต่ละทิศ
             Vol. 9                                       110
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122