Page 122 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 122
ื
ิ
ี
�
ี
เม่อลมท่พัดเข้าปะทะส่งกีดขวางจะถูกกดอัดทาให้เกิดความกดอากาศท่เป็นบวก (Positive Pressure) ในขณะเดียวกันท่ด้าน
ี
ั
ิ
ี
ตรงข้ามท่ลมพัดออกจากส่งกีดขวาง อากาศในบริเวณน้นจะถูกดูดออก ทาให้ความกดอากาศลดลงเกิดเป็น (Negative Pressure)
�
ิ
ิ
่
�
ื
่
ึ
ี
่
ลมทพัดเข้าปะทะสงกีดขวางและไหลเล่อนไปตามด้านข้างจะก่อให้เกิด Negative Pressure ทผิวด้านข้าง ซ่งจะทาให้เกด
ี
แบบแปรปรวน (Turbulent) และการเกิดแบบหมุน (Eddy) ตามมา ซึ่งการเกิดแบบหมุน (Eddy) จะมีผลเสีย คือ การสะสม
ของฝุ่นละอองที่มากับลม รวมถึงมลพิษทางอากาศอีกด้วย (กฤษณพงศ์ ทองศรี, 2549)
รูปที่ 8 แสดงภาพลักษณะของรูปแบบการเคลื่อนที่ของกระแสลม
ที่มา: https://www.wbdg.org/resources/env_iaq.php
3.4 การวางผังและระยะห่างของอาคาร
จากทฤษฎีของ Bittencour (ชญาดา วาณิชพงษ์ , 2556) ที่ท�าการศึกษารูปแบบของการวางผัง ที่ส่งผลต่อ
ึ
ประสิทธิภาพการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ พิจารณาจากความเร็วลมท่เกิดข้นระหว่างอาคาร โดยศึกษากรณีท่ทิศทางลม
ี
ี
ั
ต้งฉากกับอาคาร สรุปได้ว่าการวางผังกลุ่มอาคารแบบเหล่อม มีผลต่อการระบายอากาศมากกว่าการวางผังกลุ่มอาคารแบบกริด
ื
เนื่องจากการวางผังแบบกริดท�าให้เกิดพื้นที่ที่โดนบังลม ที่ส่งผลต่อการระบายอากาศของบ้านที่อยู่ใต้ลม
โดยที่ลักษณะการไหลของอากาศที่เกิดขึ้นระหว่างอาคารในรูปที่ 9 อธิบายได้ว่า เป็นกระแสลมวน (Skimming
Flow) ท่เกิดข้นในท่ว่างระหว่างอาคาร และหากท่ว่างน้นขยายใหญ่จนก่อให้เกิดกระแสลมวนข้น (Upwind Eddies) และ
ี
ึ
ี
ั
ึ
ี
กระแสลมวนลง (Downwind Eddies) ที่เรียกว่า Wake Interference Flow และถ้าหากที่ว่างใหญ่ขึ้นจนท�าให้กระแสลม
ด้านบนไหลวนมาที่พื้น ก็จะถูกเรียกว่า Isolated Roughness ซึ่งการเว้นที่ว่างระหว่างอาคารจนเกิด Isolated Roughness
ก็จะมีประสิทธิภาพการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติมากสุด
W = ระยะห่างระหว่างอาคาร
H = ความสูงของอาคาร
รูปที่ 9 แสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของลมตามระยะห่างของอาคาร
ที่มา: web.mit.edu/nature/archive/student_projects/2009/jcalamia/Frame/05_canyonwind.html
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
115 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.