Page 164 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 164
ื
ี
�
�
คู่มือสาหรับช่างและสมาชิกในชุมชนเพ่อการจัดสภาพแวดล้อมท่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุ (2555) เร่องทางลาด
ื
�
ี
ท่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุคนพิการ ไม่ควรมีความชันมากเกินไปจะเส่ยงกับการพลัดตกหกล้ม ควรยึดข้อกาหนดของกฎหมาย
ี
�
่
่
ื
ั
่
�
้
่
ื
ิ
่
ู
้
ุ
่
ื
่
ั
ั
หรอไมนอยกวา 1:12 (อตราสวนระหวางความสงตอความยาวของทางลาด) และพนผววสดไมลน สาหรบแนวคดการออกแบบ
ิ
ี
ี
ี
�
ท่จอดรถสาหรับผู้สูงอายุและคนพิการต้องเป็นพ้นท่ส่เหล่ยมผืนผ้ามีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร และยาวไม่น้อยกว่า
ี
ื
6 เมตร ต้องจัดให้มีที่ว่างข้างที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 เมตร ตลอดความยาวของที่จอดรถ โดยที่ว่างดังกล่าวต้องมีลักษณะ
ื
พ้นผิวเรียบและมีระดับเสมอกับท่จอดรถ เพ่อให้เพียงพอสาหรับการเคล่อนย้ายของผู้สูงอายุท่น่งรถเข็นหรือคนพิการ ระหว่าง
ั
ี
ี
ื
�
ื
ี
ี
เก้าอ้รถเข็นและตัวรถ และเพียงพอในการเปิดประตูรถได้อย่างเต็มท่ท่จอดรถผู้สูงอายุและคนพิการต้องไม่ขนานกับทางเดินรถ
ี
ื
�
สุดนิรันดร์ เพชรัตน์ และคณะ (2557) สภาพแวดล้อมทางกายภาพเพ่ออานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงอายุ ต้องม ี
�
ี
ื
องค์ประกอบท่ส่อความสะดวกสบายในการเข้าถึง ความปลอดภัย เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ และสามารถท่จะทากิจกรรม
ี
�
ได้หลากหลายอย่าง มีความสะอาดและดึงดูดใจ และเป็นสถานท่ท่ผู้คนจะได้เข้ามาพบปะกัน อีกท้งเพ่อให้เหมาะสมกับบริบท
ี
ั
ื
ี
ของสังคมผู้สูงอายุ และสวนที่ดีควรมีทางวิ่งโดยรอบ และการจัด Zone แบ่งพื้นที่เป็น 4 ส่วน คือ โซนพักผ่อน โซนกิจกรรม
้
ิ
�
้
ื
ผสงอายและคนทกวย โซนลานกจกรรมกลางแจง และโซนเครองออกกาลงกาย นอกจากโซนตางๆ แลว อีกอยางหนงทจาเปน
ู
่
ี
ุ
้
ุ
่
ึ
่
็
ั
ั
่
่
ู
�
�
ั
�
ี
และควรให้ความสาคัญ น่นก็ คือ ส่งอานวยความสะดวกท่ควรจัดเตรียมไว้สาหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ ท่จอดรถ ทางลาด ห้องส้วม
�
ิ
ี
ึ
ี
ป้ายแสดงส่งอานวยความสะดวก ทางเดินเช่อม ราวจับ และบันได ซ่งแนวคิดน้จะช่วยแก้ปัญหาในกรณีท่มีพ้นท่จากัด สามารถ
�
�
ิ
ื
ื
ี
ี
เลือกจัดสวนฯ แบบแยกส่วนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแต่ละที่
ั
การจัดสภาพแวดล้อมท่เหมาะสมกบผู้สูงอาย (2558) ห้องน�าว่าควรมีขนาดไม่กว้างและไม่แคบเกินไป อาจกว้าง
ุ
ี
้
�
้
ี
ื
้
�
�
ประมาณ 1.65-2.75 เมตร (ห้องนาแบบไม่มีอ่างนา มีส้วม และอ่างล้างมือในห้องนา) โดยมีพ้นท่ว่างภายในมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
้
ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร เพ่อให้ผู้สูงอายุท่ใช้เก้าอ้รถเข็นสามารถหมุนตัวกลับได้ห้องนาควรมีระดับเสมอกับพ้นภายนอก
ื
ี
้
�
ื
ี
ื
้
�
�
้
ถ้าเป็นต่างระดับควรเป็นทางลาด พ้นห้องนาต้องไม่ล่นทาความสะอาดง่ายมีการระบายนาท่ดีหรือแยกส่วนแห้งและส่วนเปียก
ี
�
ื
และควรติดตั้งโถส้วมแบบนั่งราบเพราะผู้สูงอายุจะนั่งยองล�าบาก มักมีอาการปวดข้อ หรือข้อแข็ง โดยระยะติดตั้งให้วัดจาก
ื
ิ
ึ
ี
ฝาผนังมาถึงก่งกลางโถสุขภัณฑ์ประมาณ 45 เซนติเมตร และควรมีแสงสว่างท่เพียงพอเพ่อมองเห็นส่งของภายในห้องได้ง่าย
แต่ไม่ควรจ้าเกินไป และมีสวิตช์ เปิด-ปิด ไฟอยู่ในต�าแหน่งที่ผู้สูงอายุสามารถ เปิด-ปิด ได้สะดวก และการเลือกสีผนังและ
ี
ี
ี
่
ื
ื
พนห้องควรเป็นสตดกน ตลอดจนเครองสขภณฑ์อนๆ เช่น โถส้วม อ่างล้างหน้า ควรมสทแตกต่างจากพนห้องเนองจาก
้
้
ื
่
ุ
ื
ั
่
ื
ั
ี
ั
่
ผู้สูงอายุจะมีความสามารถในการมองเห็นและการแยกความแตกต่างของสีที่คล้ายกันได้ลดลง
ศาสน์ สุขประเสริฐ (2558) สิทธิผู้สูงอายุพึงได้รับการอ�านวยความสะดวกและปลอดภัยในด้านการบริการสาธารณะ
ี
ิ
�
ึ
ี
ึ
�
ท่จาเป็น ซ่งต้องมุ่งเน้นด้านความปลอดภัย (Safety) มากท่สุด ซ่งโดยส่วนใหญ่จะเห็นตัวอย่างจากการจัดส่งอานวยความสะดวก
ิ
�
สาหรับผู้สูงอายุท่เป็นรูปธรรมชัดเจน คือ ห้องนาท่ได้มาตรฐานตามสถานท่บริการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตาม การจัดหาส่งอานวย
ี
ี
�
ี
�
้
ความสะดวกส�าหรับผู้สูงอายุก็มีอย่างจ�ากัด ทั้งในส่วนที่ต้องจัดหาโดยภาครัฐ เช่น สิ่งอ�านวยความสะดวกในสวนสาธารณะ
รถโดยสารสาธารณะ เป็นต้น
3. วิธีวิจัย
ี
ื
ื
วิจัยเร่องแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาพ้นท่สวนสาธารณะในชุมชนเพ่อรองรับสังคมผู้สูงวัย: กรณีศึกษา
ื
สวน 60 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เคหะชุมชนร่มเกล้า สัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่เข้ามาใช้บริการ วิเคราะห์ประมวลผล
จากการเก็บแบบสอบถาม จ�านวน 400 ชุด
3.1 สัมภาษณ์ผู้สูงอายุ
ท่เข้ามาใช้บริการ วันธรรมดา (จันทร์-ศุกร์) และวันหยุด (เสาร์-อาทิตย์) ช่วงเช้า-เย็น ซ่งเป็นช่วงท่มีคนเข้ามา
ี
ึ
ี
ใช้บริการจ�านวนมาก
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
157 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.