Page 161 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 161
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ั
ี
ในการพัฒนาปรับปรุงพ้นท่สวนสาธารณะสาหรับผู้สูงอายุในชุมชนให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์มากท่สุดอีกท้งยังสามารถ
�
ื
ี
ที่จะน�าไปปรับใช้กับพื้นที่อื่นๆ ได้ต่อไปได้อีก
1.1 ขอบเขตการศึกษา
พื้นที่ศึกษา: สวนสาธารณะชุมชน 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ื
ด้านเน้อหา: ลักษณะทางกายภาพ รูปแบบของการจัดการพ้นท่ตลอดจนการให้บริการศักยภาพข้อจากัด
ื
�
ี
พฤติกรรมการใช้พื้นที่ ตลอดจนลักษณะประชากรที่มาใช้บริการ รวมถึงแนวทางในการพัฒนาพื้นที่
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. ศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ รูปแบบของการจัดการพื้นที่ตลอดจนการให้บริการศักยภาพและ
ข้อจ�ากัดของ สวน 60 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
ื
ี
2. ศึกษาพฤติกรรม และรูปแบบการใช้พ้นท่ตลอดจนลักษณะประชากรท่มาใช้บริการในสวน 60 พรรษา สมเด็จ
ี
พระบรมราชินีนาถ
3. เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่สวน 60 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
สาลินี ภวายน (2535) แหล่งนันทนาการก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านการบริการทางนันทนาการ
1. ด้านสุขภาพร่างกาย สุขภาพร่างกายที่ดีและความแข็งแรงของประชาชน จัดว่าเป็นสิ่งที่ส�าคัญ
ั
ิ
�
ื
ื
ี
ู
2. ด้านจตใจ ทุกวนน้คนเราอย่ในสภาวะเร่งรีบ ความแออัดเน่องมาจากการขยายตัวของเมอง ทาให้เกิดความเครียด
สาเหตุนี้การได้สัมผัสใกล้ชิดธรรมชาติ ช่วยท�าให้คนเราเกิดความความรู้สึกปลอดภัยผ่อนคลาย
3. ด้านสังคม การที่รัฐสามารถจัดหาและพัฒนาพื้นที่และสิ่งอ�านวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
4. ด้านการศึกษาพื้นที่นันทนาการทุกแห่ง เปรียบได้กับห้องปฏิบัติการธรรมชาติ
วัชรี น้อยพิทักษ์ (2536) สวนสาธารณะ คือ สถานท่ท่จัดข้นโดยรัฐโดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างเพ่อเป็นสถานท ี ่
ี
ึ
ี
ื
พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ไม่เก็บค่าบริการใด มีการจัดบริเวณไว้อย่างสวยงาม
เอื้อมพร วีสมหมาย (2538) ลักษณะของการพักผ่อนหย่อนใจที่คนเราต้องการ
1. การพักผ่อนในลักษณะสงบ เป็นการพักผ่อนหย่อนใจที่ไม่ใช่การออกแรงออกก�าลังกาย
2. การพักผ่อนในลักษณะการออกก�าลังกาย (Active Recreation) คือ การพักผ่อนที่ต้องออกแรงออกก�าลัง ได้แก่
การเดิน การวิ่งออกก�าลังกาย การขี่จักรยาน การเล่นเรือ การเล่นกีฬา
�
ื
ี
�
กาญจนา โอ้อวด (2540) ข้อควรคานึงถึงในการออกแบบพ้นท่ส่วนทางเดินว่าผู้สูงอายุมีข้อจากัดทางกายภาพ
การเคลื่อนไหวก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ควรค�านึงเกณฑ์ต่างๆ ในการออกแบบ ดังนี้
1. พื้นที่ทางเดินไม่ควรต�่ากว่า 2.00 เมตร
2. การออกแบบควรค�านึงถึงความปลอดภัย โดยที่ผนังทางเดินควรออกแบบให้มีราวส�าหรับยึด
3. ควรมีแสงสว่างที่เพียงพอ วัสดุในการกรุพื้นควรมีความเรียบและสะท้อนแสงน้อย
4. พื้นที่ทางเดินหน้าอาคารควรออกแบบเป็นทางลาด (Ramp) ส�าหรับผู้สูงอายุใช้รถเข็น
5. การออกแบบควรค�านึงถึงความสวยงาม และบรรยากาศ ด้วยการตกแต่งรูปภาพหรืออื่นๆ
ื
ี
สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล (2541) ผู้สูงอายุมักเกิดอุบัติเหตุหกล้มในห้องนาได้ง่าย สาเหตุเน่องจากสภาพร่างกายท่ไม่สมบูรณ์
้
�
ื
ี
้
ื
ี
�
้
ื
�
โดยเฉพาะในเร่องของสายตา และท่พบบ่อยคือไฟในห้องนามักมีแสงสว่างไม่เพียงพอ พ้นห้องนาล่น การมีพ้นท่ไม่เรียบเสมอ
ื
วัสดุที่ไม่เหมาะสมไม่ถูกต้องกับการใช้งานฯลฯ ควรมีการท�าราวเพื่อช่วยพยุงผู้สูงอายุใกล้บริเวณโถส้วม และห้องน�้าที่ดีควร
เป็นห้องน�้าที่มีพื้นเรียบไม่ควรท�าพื้นเล่นระดับ
Vol. 9 154