Page 162 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 162
กรมโยธาธิการและผังเมือง (2547) แนวคิดในการก�าหนดองค์ประกอบภายในสวนสาธารณะ คือ
1. การพักผ่อนสบายๆ เป็นกิจกรรมที่ไม่ใช้การออกแรง เป็นการออกก�าลังกายเบาๆ คลายเครียด
2. กิจกรรมที่มีการออกก�าลังกาย เช่น การเล่นกีฬาต่างๆ การวิ่ง การเต้นแอโรบิค ฯลฯ
ก�าธร กุลชน และชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล (2548) การใช้งานทางเท้าส�าหรับคนพิการผู้สูงอายุ พบว่าอุปสรรคการใช้
พื้นที่มาจากเรื่องการออกแบบความต่างระดับของทางปัญหาในเรื่องวัสดุปูพื้น ฯลฯ และการบริหารจัดการ
กฎกระทรวงกาหนดส่งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (2548) พ้นห้องนา
ิ
�
�
ื
�
�
้
จะต้องมีระดับเสมอกันท้งภายนอกและภายใน ถ้ามีพ้นต่างระดับควรมีลักษณะเป็นทางลาด วัสดุปูพ้นห้องส้วมต้องไม่ล่น
ื
ื
ั
ื
พื้นห้องน�้าต้องมีความลาดเอียงเพียงพอไม่ให้เกิดน�้าขัง
�
ื
ราวจับในแนวนอนต้องมีความสูงจากพ้นไม่น้อยกว่า 650 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 700 มิลลิเมตร และให้ย่นลาออกมา
้
ื
จากด้านหน้าโถส้วมอีกไม่น้อยว่า 250 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 300 มิลลิเมตร
ราวจับในแนวด่งต่อจากปลายของราวจับในแนวนอนด้านหน้าโถส้วมมีความยาววัดจากปลายของราวจับในแนวนอน
ิ
ขึ้นไปอย่างน้อย 600 มิลลิเมตร อาจเป็นราวต่อเนื่องกัน
ี
ื
ด้านโถส้วมด้านไม่ชิดผนังให้มีราวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบ เม่อกางออกให้มีระบบล็อกท่ผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชรา สามารถปลดล็อกได้ง่าย มีระยะห่างจากขอบของโถส้วมไม่น้อยกว่า 150 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน
200 มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า 550 มิลลิเมตร
ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียง โดยมีปุ่มกดหรือปุ่มสัมผัสให้สัญญาณท�างาน ซึ่งติดตั้งอยู่ในต�าแหน่งที่
ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้งานได้สะดวก
์
์
ไตรรัตน จารุทัศน และคณะ (2548) ก๊อกน�้าผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เลือกใช้ก๊อกน�้าแบบปัดไปด้านข้างโถส้วมชนิดราบ
ี
ี
ื
สูงจากพ้นไม่น้อยกว่า 400 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตร ราวจับผู้สูงอายุควรเลือกราวจับท่ใช้ในพ้นท่ท่วไปเป็น
ั
ื
ุ
ั
สแตนเลลส เสนผาศนยกลาง 4.5 เซนตเมตร ความสงจากพนถงระดบบนสดของราวจบผสงอายเลอกความสง 80 เซนตเมตร
ึ
ั
ู
ื
ู
ิ
้
ู
ุ
ู
ิ
้
์
ู
้
ื
่
ราวจับด้านท่อยู่ติดผนังให้มีระยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร มีความสูงจากจุดยึดไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร
ี
และรูปแบบราวจับในห้องน�้าเลือกแบบราวติดพื้น 2 ข้าง การใช้สีส�าหรับป้ายต่างๆ ควรใช้สีน�้าเงินบนพื้นสีขาวเป็นตัวอักษร
ที่ผู้สูงอายุสามารถมองเห็นได้
สุภาดา ศรีสารคาม (2550) ลักษณะหน้าที่ของสวนสาธารณะที่ดีคุณสมบัติด้านกายภาพ
1. คุณสมบัติทางกายภาพระดับเมือง
- ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อการสัญจรที่ส�าคัญ
- ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารหรือสถานที่ที่มีความส�าคัญในระดับเมือง
- ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับสิ่งอ�านวยความสะดวกต่างๆ
- มีความหนาแน่นของมวลอาคารโดยรอบอย่างเหมาะสม จัดวางอยู่ในพื้นที่นั้นอย่างเหมาะสม
2. คุณสมบัติทางกายภาพระดับพื้นที่ย่อย
- มีขนาดพื้นที่สภาพภูมิทัศน์และมุมมองในการมองพื้นที่โดยรอบอย่างสวยงาม สบายตา
- เป็นพื้นที่สาธารณะที่มีอาคารข้างเคียงโอบล้อมอย่างเหมาะสม
- เป็นพื้นที่ที่มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน ปรับเปลี่ยนพื้นที่และกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม
3. พื้นที่ว่างสาธารณะที่ดีในนัยยะของประเภทผู้ใช้ กิจกรรม และช่วงเวลาที่ใช้
- มีความหลากหลายของกลุ่มผู้ใช้
- มีความหลากหลายของกิจกรรมเกิดขึ้นในพื้นที่ว่างสาธารณะ
- มีการเข้าใช้พื้นที่ว่างสาธารณะในช่วงเวลาที่หลากหลาย
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
155 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.