Page 163 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 163
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
นิลุบล คล่องเวสสะ (2551) การเตรียมโครงการสวนพื้นที่นันทนาการด้วยการวางแผนโปรแกรมที่ดี และออกแบบ
ี
ื
�
ื
ี
โดยคานึงพฤติกรรมผู้ใช้อย่างดีแล้วก็อาจเป็นไปได้ท่จะไม่มีการใช้พ้นท่น้นเท่าท่ควร สาเหตุของการท่ไม่ใช้สวนและพ้นท ี ่
ี
ี
ั
นันทนาการเหล่านั้น อาจจะสืบเนื่องมาจากหลายสาเหตุ เช่น
1. การเข้าถึงและการเดินถึงของสวนสาธารณะ สวนแต่ละแห่งมีขอบเขตพื้นที่การให้บริการ
2. ความไม่รู้ว่ามีอะไรน่าสนใจในสวนสาธารณะ
3. กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในสวน
4. ความทรุดโทรมของพื้นที่ ตลอดจนอุปกรณ์เครื่องเล่นที่ไม่ได้รับการปรับปรุงบูรณะ
5. ความปลอดภัย สวนที่ดีควรออกแบบมีการก�าหนดจุดเข้าออกที่สามารถควบคุมตรวจสอบดูแล
6. ความน่าสนใจดึงดูดใจหลักๆ คือ ควรเน้นที่ส่วนประกอบและรูปแบบของสวนรวมทั้งกิจกรรม
7. ขนาดและรูปร่างของสวน ควรมีสัดส่วนเหมาะสม ไม่แคบจนท�าให้รู้สึกอึดอัด หรือกว้างโล่งเกินไป
�
ื
มงคล ยะภักดี (2551) การออกแบบเพ่อทุกคน (Universal Design) ครอบคลุมงานออกแบบสาหรับผู้พิการ ผู้สูงอาย ุ
มีขอบเขตการออกแบบชุมชนเมือง ออกแบบสถาปัตยกรรม ออกแบบตกแต่งภายใน และออกแบบผลิตภัณฑ์ สิ่งแวดล้อม
เหล่านี้ครอบคลุมกิจกรรมทุกประเภทให้เชื่อมต่อกัน
ปวิช ศรีละมูล เดชา บุญคา (2552) การพิจารณาเลือกใช้พ้นท่ทากิจกรรมภายในสวนสาธารณะของผู้สูงอายุ ข้นอยู่กับ
ึ
�
้
ื
�
ี
ื
ื
ปัจจัยเร่องความสะดวกในการเข้าถึงพ้นท่ ความเหมาะสมของสภาพพ้นท่กับรูปแบบกิจกรรม ความปลอดภัย ความสงบ
ื
ี
ี
เป็นส่วนตัว ความสบาย และความสวยงามของพื้นที่
ประกฤษณ์ สุวรรณสมศรี (2553) องค์ประกอบในการวางผังของสวนสาธารณะมีดังนี้
1. ช่องทางเดิน หรือวิ่งเหยาะในการออกก�าลังกาย
2. สนามหญ้าหรือสวนหย่อม เพื่อใช้เป็นสถานที่นั่งเล่นหรือผ่อนคลายให้แก่ผู้ใช้บริการ
3. ลานกีฬาหรือสถานที่ออกก�าลังกาย สนามกีฬาอเนกประสงค์ สนามเปตอง ตระกร้อ ลานแอโรบิค
4. ม้านั่ง ควรจัดเป็นจุดๆ บริเวณต้นไม้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถนั่งพักผ่อน และพักเหนื่อย
5. สระน�้าหรือทางน�้าไหลที่มีน�้าเป็นส่วนประกอบ เพื่อสร้างบรรยากาศความชุ่มชื้น เย็นสบาย
6. อาคารอเนกประสงค์เพื่อไว้พบปะของผู้ใช้บริการ ตลอดทั้งอุปกรณ์กีฬาและอื่นๆ
7. สัญลักษณ์และเครื่องหมายแสดงทิศทาง เพื่อบอกให้ผู้ใช้บริการได้เดินทางไปยังจุดหมายได้ถูกต้อง
8. ห้องน�้า ไว้ส�าหรับผู้มาใช้บริการสวนสาธารณะเพื่อความสะอาดถูกสุขลักษณะ
9. จุดขายเครื่องดื่ม ซึ่งอาจจัดไว้ส่วนหนึ่งของอาคาร หรือภายในสวน
10. ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อความสะดวก ปลอดภัย แก่ผู้ใช้สวนสาธารณะ
11. ที่จอดรถยนต์ จักรยานยนต์เพื่ออ�านวยความสะดวก
12. ระบบระบายน�้าของสวนสาธารณะ จะต้องออกแบบไม่ให้มีน�้าขัง ซึ่งจะมีผลต่อการดูแลรักษา
13. แหล่งน�้าส�าหรับบ�ารุงรักษาต้นไม้ เพื่อเป็นการประหยัด สร้างความชุ่มชื่น
14. ป้อมยามหรือจุดตรวจ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัย
ณัฐกิจ หาญบุญญานนท์ (2553) ห้องน�้าเป็นสิ่งส�าคัญ ในการช่วยลดการหกล้มในห้องน�้าส�าหรับผู้สูงอายุ เช่น วัสดุ
�
ี
ี
ื
�
�
ั
้
ท่ทาพ้นห้องนา ราวจับ และอุปกรณ์เตือนภัย ซ่งบางอย่างไม่มีการกาหนดวัสดุมาตรฐาน ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ท่นามาใช้ท่วไป
�
ึ
ไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน บางครั้งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้
ไพศาล เทพวงศ์ศิริรัตน์ (2555) พื้นที่สาธารณะต่างๆ นั้น เป็นปัจจัยที่มีความส�าคัญมากกับชีวิตความเป็นอยู่ของ
ิ
ุ
ู
ั
้
ู
ุ
ั
้
่
็
ั
่
ึ
ุ
ู
ผสงอาย นบเปนหนงในสาธารณปการกายภาพขนพนฐาน และมอทธพลตอระดบคณภาพของผสงอายทงทางรางกายและจตใจ
ู
้
ิ
ี
่
ิ
ื
้
ู
้
ั
สวนสาธารณะที่ดีที่เหมาะสมช่วยในเรื่องของการส่งเสริมสุขภาวะที่ดี
Vol. 9 156