Page 192 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 192
3.2 ระยะมาตรฐานในการออกแบบทางเดินภายในพิพิธภัณฑ์
็
์
ิ
่
ิ
ิ
ิ
ั
่
ื
ั
้
ี
ั
�
่
ี
ทางเดนภายในพพธภณฑเปนสงสาคญในการออกแบบ ควรมระยะทเหมาะสม สะดวกสบาย เพอปองกนความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อผู้เข้าชมและวัตถุที่จัดแสดง ในการออกแบบทางเดินที่เหมาะสมมีระยะดังนี้ ทางเดิน 1 เลน ควรมี
ระยะทางเดินโดยประมาณ 75-90 เซนติเมตร และทางเดิน 2 เลน ควรมีระยะทางเดินโดยประมาณ 1.70 เมตร (รูปที่ 1)
(Panero & Zelnik, 1979)
รูปที่ 1 ระยะทางเดินที่เหมาะสมภายในพิพิธภัณฑ์
ที่มา: Panero & Zelnik, (1979)
3.3 การประเมินอาคารหลังการใช้งาน
การประเมินอาคารหลังการใช้งานประกอบด้วย 3 ด้าน คือ 1) ด้านเทคนิคการออกแบบและก่อสร้างอาคาร
2) ด้านประโยชน์ใช้สอย 3) ด้านพฤติกรรม ด้านเทคนิคการออกแบบและก่อสร้างอาคารเป็นการประเมินสภาพแวดล้อม
ภายในอาคาร ว่าด้วยเร่องท่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ใช้อาคาร เช่น ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบป้องกันอัคคีภัย
ี
ื
ื
และระบบทาความร้อนความเย็นภายในอาคาร เป็นต้น ด้านประโยชน์ใช้สอยเป็นการประเมินศักยภาพของพ้นท่ใช้งาน ในเร่อง
ี
�
ื
ความสอดคล้องของสภาพแวดล้อมกับความต้องการทางกายภาพของผู้ใช้ ซึ่งมีผลต่อความสามารถและประสิทธิภาพในการ
ี
ื
ี
ทางานของผู้ใช้อาคาร และสุดท้ายคือด้านพฤติกรรม ในด้านน้จะมีเร่องของจิตวิทยาและการรับรู้เข้ามาเก่ยวข้อง เป็นเร่องของ
�
ื
ความพึงพอใจและความเป็นอยู่ของผู้ใช้อาคาร (Horgen and Sheridan, 1996) ดังนั้นในการท�าวิจัยครั้งนี้ จึงน�าการประเมิน
อาคารหลังการใช้งานมาใช้ในส่วนของการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าชม สัมภาษณ์ และประเมิน ความพึงพอใจของผู้เข้าชม
และเจ้าหน้าที่
จากการทบทวนวรรณกรรมท่เก่ยวข้องกับการประเมินอาคารหลังการใช้งานพิพิธภัณฑ์ พบว่าวิจัยเก่ยวข้องกับ
ี
ี
ี
การประเมินอาคารหลังการใช้งานพิพิธภัณฑ์ยังมีไม่มาก ได้แก่
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
185 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.