Page 190 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 190

Research data were collected by surveying museum physical environment, observing visitors’ behaviors,
              interviewing museum supervisors, distributing questionnaires to visitors and conducting a focus group interview
              with museum staff. Research instruments included a behavioral map, an interview form, a questionnaire and
              focus  group  interview  from.  Questions  were  general  about  opinions,  satisfactions,  problems  and,  solution.
              Qualitative data were analyzed by using content analysis. Then, the data were concluded, theme organized
              and prioritized. Quantitative data were analyzed by using statistics to find frequencies, percentages, and means.

                      In conclusion, Benjamarachutit museum was location in a suitable area and temperature inside the
              museum was in a comfort zone. A mapping inside the museum was easily understood by visitors, but problems
              were found that area arrangement was not in accordance with many of exhibited objects. Narrow walkways
              were caused by many of exhibited objects. The objects were showed without damage prevention. Therefore,

              the area inside the museum should be arranged in accordance with exhibited objects. The exhibited objects
              should be kept neatly in glass cases for accident and damage preventing in the future.


              Keywords: Interior Environment, Museum


              1. บทน�า


                      พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่รวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ ที่มีความส�าคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความ
              มุ่งหมายเพ่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ออนไลน์)
                       ื
                                                                                                  ี
                                                                                         ื
                               ี
              พิพิธภัณฑ์เป็นสถานท่รวบรวมและเก็บรักษาเอกสาร จัดแสดงนิทรรศการ การตีความวัตถุจัดแสดง เพ่อให้ข้อมูลท่เป็นประโยชน์
                                                                                                         ึ
                                       ิ
                                                                                                           ี
                            ื
              แก่สาธารณะในเร่องมนุษย์และส่งแวดล้อม  (จุฑามาศ  แก้วพิจิตร,  2559)  พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งการเรียนรู้ประเภทหน่งท่ม ี
                    �
              ความสาคัญ  เพราะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์  เป็นแหล่งอนุรักษ์ศิลปกรรม  หลักฐานทางมรดกวัฒนธรรม
                                       ื
              ให้คนรุ่นต่อไปได้เข้ามาเรียนรู้ เพ่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ประเภทพิพิธภัณฑ์
                                                                                                 �
              ของสถานศึกษาพัฒนามาจากมุมส่อการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาและประวัติศาสตร์  โดยมี  อาจารย์ธารง  เตียงทอง
                                         ื
                                      ื
                          �
                                           ื
              เป็นผู้ริเร่มจัดทา มีเป้าหมายเพ่อเป็นส่อการเรียนรู้ภายในโรงเรียนและเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งความภาคภูมิใจของคณาจารย์
                     ิ
                                    ี
                                                                    ั
              ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบันและผู้เก่ยวข้องกับโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ท้งในอดีตและปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมวันจันทร์
              ถึงวันศุกร์ เวลา 11.15-13.05 น. และกรณีพิเศษ ปิดบริการวันเสาร์ถึงวันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ (Museum Thailand,
              ม.ป.ป.)
                      พิพิธภัณฑ์เกิดขึ้นเมื่อปลายปี  พ.ศ.  2522  โดยใช้สถานที่ที่อาคาร  2  ห้อง  231  จัดเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกขึ้นใน
              โรงเรียน มีการจัดแสดงเป็น 2 ส่วน คือ นิทรรศการถาวรและนิทรรศการชั่วคราว นิทรรศการถาวรเป็นการรวบรวมวัตถุที่มี
                      ี
                          ื
              ประวัติเก่ยวเน่องกับโรงเรียน  เช่น  พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ธงซ้อมรบเสือป่า
              ตู้หนังสือเสือป่า นาฬิกาพระราชทาน และนิทรรศการชั่วคราว ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ห้องพิพิธภัณฑ์ได้ย้ายจากห้อง 321
              มาอยู่บริเวณชั้นล่างอาคาร 1 ด้านทิศตะวันตก เพื่อความเหมาะสมในเรื่องที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ การจัดท�าพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่
              อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2525 เสร็จสิ้นในปลายปี พ.ศ. 2526 และตั้งชื่อห้องพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่ว่า “เบญจมราชูทิศ พิพิธภัณฑ์”
              ในปี พ.ศ. 2538 เบญจมราชูทิศ พิพิธภัณฑ์ได้ปิดลงช่วคราว เน่องจากคณะนักศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
                                                             ื
                                                      ั
              ได้เสนอโครงการจัดพิพิธภัณฑ์ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การจัดพิพิธภัณฑ์  เน่องจากระยะเวลาโครงการเป็นช่วงเวลาส้นๆ
                                                                                                         ั
                                                                           ื
                                                        �
              ทางฝ่ายเจ้าหน้าท่ของเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ จึงได้ดาเนินการต่อและจัดจนเสร็จตามสมควรจึงเปิดให้เข้าชมตามปกติอีกคร้ง
                                                                                                           ั
                            ี
                                       �
              ในปี  พ.ศ.  2539  หลังจากได้ดาเนินการจัดพิพิธภัณฑ์จนมีความพร้อมท่จะเปิดให้เข้าชมได้ในระดับหน่ง  จึงได้จัดพิธีเปิด
                                                                                              ึ
                                                                       ี
              เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์  พร้อมกับการเฉลิมฉลองครบรอบ  111  ปี  ของโรงเรียน  เม่อวันท่  11  ธันวาคม  พ.ศ.  2542
                                                                                      ี
                                                                                  ื
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            183   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195