Page 194 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 194
4.1 วิธีการเก็บข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
4.1.1 สารวจสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์และสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าชม
�
พิพิธภัณฑ์ในวันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560 เวลา 10.00-13.00 น. รวมเป็นเวลา 3 ชั่วโมง
4.1.2 สัมภาษณ์อาจารย์ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ 2 คน ผ่านทางโทรศัพท์และผู้วิจัยจดบันทึกด้วยตนเองในวันศุกร์
ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 11.20-11.40 น. รวมเป็นเวลา 20 นาที และวันเสาร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา
12.00-12.25 รวมเป็นเวลา 25 นาที
์
ั
้
ู
้
ิ
ิ
ู
ู
ี
ี
ี
ุ
ิ
ี
้
้
ั
็
่
4.1.3 แจกแบบสอบถามผเขาชมพพธภณฑ เฉพาะผเขาชมทเปนนกเรยนโรงเรยนเบญจมราชทศ ราชบร 36 คน
บริเวณเบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ ในวันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เวลา 14.00-16.00 น. รวมเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
โดยผู้วิจัยแจกและเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง
�
ึ
4.1.4 สนทนากลุ่มกับภัณฑารักษ์ซ่งเป็นนักเรียน จานวน 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน บริเวณเบญจมราชูทิศ
ี
พิพิธภัณฑ์ในวันศุกร์ท่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เวลา 15.00-15.15 น. รวมเป็นเวลา 15 นาที และเวลา 15.15-15.25 น.
รวมเป็นเวลา 10 นาที โดยผู้วิจัยท�าการสนทนากลุ่มและจดบันทึกด้วยตนเอง
4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรกลุ่มผู้ให้ข้อมูลและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
ี
ั
4.2.1 พิพิธภัณฑ์ท่เป็นกรณีศึกษา คือ เบญจมราชูทิศพิพิธภัณฑ์ ต้งอยู่ภายในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุร ี
ื
4.2.2 อาจารย์ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ท้งหมด 4 คน ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเพ่อสัมภาษณ์ 2 คน ผู้วิจัยคัดเลือก
ั
จากอาจารย์ที่สะดวกให้การสัมภาษณ์ผ่านทางโทรศัพท์
ั
4.2.3 ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ คือ นักเรียนภายในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีท้งหมด 3,477 คน ผู้วิจัยคัดเลือก
กลุ่มตัวอย่างจากผู้ที่เคยเข้าชมที่สะดวกตอบแบบสอบถามในวันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ภายในเบญจมราชูทิศ
พิพิธภัณฑ์ จ�านวน 36 คน
ั
ิ
4.2.4 ภัณฑารักษ์ คือ นักเรียนภายในชมรมอนุรักษ์ศิลปกรรมและส่งแวดล้อมท้งหมด 150 คน ผู้วิจัยคัดเลือก
กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเพ่อเข้าร่วมสนทนากลุ่มจากภัณฑารักษ์ท่ทาหน้าท่ในพิพิธภัณฑ์ในวันศุกร์ท่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
�
ี
ี
ี
ื
จ�านวน 10 คน
4.3 เครื่องมือวิจัย
เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด ดังนี้
�
�
4.3.1 ผังพฤติกรรมของผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ใช้สาหรับสารวจและสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าชมและระบุตาแหน่ง
�
ื
ี
ี
เฟอร์นิเจอร์ภายในพิพิธภัณฑ์ ประกอบด้วย ผังภายใน ช่อผู้บันทึก วันและเวลาท่บันทึกพร้อมสัญลักษณ์ท่ใช้ภายในผังพฤติกรรม
ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ก�าหนดขึ้นเอง
ี
4.3.2 แบบสัมภาษณ์อาจารย์ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์มีความยาว 1 หน้า แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ 1
เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ต�าแหน่งหน้าที่ วันที่ เวลา สถานที่ในการสัมภาษณ์ ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับรูปแบบการจัดแสดง
ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ปัญหา และแนวทางการปรับปรุงในอนาคต ผู้วิจัยเป็นผู้ออกแบบเครื่องมือในการสัมภาษณ์ด้วย
ตนเองและพัฒนาโดยได้รับค�าแนะน�าจากอาจารย์ด้านสถาปัตยกรรมภายใน
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
187 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.